1. ฝึกการให้ โดยไม่หวังอะไรกลับมา
อย่ าเอาแต่อยู่บ้านเฉย ๆ มันไม่เกิ ดประโยชน์ แต่ให้พย าย ามหาอะไรก็ได้
ช่วยคนโน้นคนนี้ เท่าที่ร่ างกายของเราจะทำได้
2. การดำรงอยู่ในความถูกต้อง
ทั้งความดีและความถูกต้อง เพราะบางอย่ างดี แต่ไม่ถูกต้อง
บางอย่ างถูกต้องแต่ไม่ดี การกระทำของเรานั้น ต้องตรว จ ส อบอยู่เรื่อย ๆ
3. อยู่อย่ างสง่า จากไป อย่ างสงบ
ตอนมีชีวิตอยู่ ต้องมีความสง่างามในตัวเองเสมอ ทุ กอย่ างต้องพึ่งตัวเองได้ใครเห็นก็ให้ความเคารพนับถือ
เมื่อถึงวันที่ต้อง ต ๅ ย ก็ ต ๅ ย อย่ างสงบ
4. พักผ่อนจิตใจบ้าง
หลายคนเมื่อเกษียณ ก็มักใช้เวลาหาแต่ความสุขทาง “กาย”
พากายไปเที่ยว ไปสูดอากาศ ไปกินอาหารดีๆ แต่คงลืมไปว่า ไม่ได้คิดที่จะเอาจิตไปพักผ่อน
ทั้งที่กายกับจิต นั้นสัมพันธ์และมีอิ ทธิพ ลต่อกัน
5. อย่ าหยุดทำงาน อย่ าอยู่เฉย ๆ
เมื่อไหร่ที่เราหยุดทำงาน ร่ างกายของเรา ก็จะหยุดไปด้วย เหมือนรถที่จอดเฉย ๆ สต า ร์ ทไม่ติ ด
เราต้องคิดว่า อย่ าหยุดด้วยจิต และกายก็อย่ าหยุดด้วย
6. ใช้ชีวิต ให้มีอยู่สติ
ไม่ว่าจะเป็นสติในการกิน แทนที่จะกินตามใจปาก แล้วต้องให้หม อจ่ ายย าลดไ ข มั น
แล้วทำไมเราไม่ลองหันมาล ดที่ปากล่ะ ด้วยการใช้สติ ในการพิจารณาอย่ างมีเหตุมีผลเมื่อจะกินอะไร
7. อักโ กธะ หรือ ความไม่โ ก ร ธ
นั่นเพราะเมื่อโ ก ร ธแล้ว มักจะเสี ยหาย ถ้าคุมอ ารมณ์ไม่อยู่
เมื่อไหร่ก็ตามที่มี เรื่องมากระทบใจ จงพลิ กอ ารมณ์ มองให้เห็นเป็นเรื่องสนุกๆ แล้วจะไม่โก ร ธ
8. น้อมนำ หลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
การดำเนินชีวิต โดยมี “เหตุผล” เป็นเครื่องนำทาง เหตุผลเป็นผลผลิตของปัญญา
ฉะนั้น จึงต้องรั กษาศีลก่อน และมีสติ สมาธิ เมื่อดำเนินทุ กอย่ าง ด้วยเหตุด้วยผลแล้ว ก็จะเกิ ดความพอเพียงตามมาไงล่ะ
9. ระลึกถึง ม ร ณ านุสติ
ไม่ว่าใคร ก็ ต ๅ ย ได้ทั้งนั้น ไม่ว่าใครก็ต้องเจอ เท่าเทียมกันหมดทุ กคนนั่นแหละ
หากมองเห็นความ ต ๅ ย เป็นเรื่องปกติ จะทำให้เรานิ่งกับสิ่งที่จะเกิ ดขึ้น
10. ร่าเริง รื่นเริง ครึกครื้ น
คนเราควร มีอ ารมณ์ขันอยู่ตลอดเวลา มองเห็นทุ กอย่ าง เป็นเรื่องสนุกชีวิตจึงจะสามารถทำงานได้สำเร็จลุล่วง และมีประสิทธิภาพ
ยิ้มแย้มแจ่มใส คนรอบข้าง ที่อยู่กับเราก็รื่นเริงกับเราไปด้วย
ขอบคุณที่มา : sabaisabuy