ใกล้สิ้นเดือนแล้ว เ งิ น เดือนก็ใกล้จะออกแล้ว หลายคนเป็น โ ร ค ทรัพย์จางตั้งแต่ช่วงกลางเดือนนั่นอาจเป็น
เพราะยังบริหาร เ งิ น เดือนได้ไม่ดีเท่าที่ควร หากปล่อยไว้คงไม่ดีแน่เรา จึงมี7 วิ ธี บริหาร เ งิ น มาแนะนำ
เพื่อที่เดือนหน้าจะได้ไม่ต้องอด มีพอกินพอใช้ และเหลือออม
1. ออมให้เป็นนิสัย
ไม่จำเป็นต้องอด ทุ ก ความสุข หมดสนุกกับ ทุ ก อ ย่ า ง เพราะเราวางแผนเองได้ว่าจะออมเท่าไหร่จะใช้ วิ ธี ออม
ทีละนิด อ ย่ า ง สม่ำเสมอ หรือจะเข้มงวดตามสูตรออมขั้นต่ำร้อยละ 10
ของรายรับก็ได้แต่ อ ย่ า ละเลยการออม เ งิ น เพราะ เ งิ น ส่วนนี้นี่แหละที่จะช่วยให้อยู่รอดใน ย า ม คับขัน รวมถึง
เป็น เ งิ น สำหรับใช้จ่ายในอนาคตตามหลักแล้ว เราควรมี เ งิ น สำรองไว้ใช้
ในกรณี ฉุ ก เ ฉิ น อ ย่ า ง น้อย 3 เดือนเมื่อเกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้นก็ยังมี เ งิ น ใช้ และหากบริษัทมีสวัสดิการให้
พนักงานเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพด้วยก็ยิ่งดี
ซึ่งจะช่วยให้การออม เ งิ น ของเรานั้นง่ายขึ้นหากเกิดกรณีที่จำเป็นต้องใช้ เ งิ น หรือเกษียณงานไปแล้ว
ก็มั่นใจได้ว่ามี เ งิ น ก้อนให้ใช้แน่นอน
2. บริหารการชำระ ห นี้
ห นี้ ที่ว่าคือ ค่าบ้าน ค่ารถ ค่า บั ต ร เ ค ร ดิ ต และอีก ส า ร พัด ห นี้ การวางแผนจ่าย ห นี้ จะช่วยให้การ เ งิ น ไม่
ข า ด สภาพคล่อง เช่น ชำระ ห นี้ ให้ตรงเวลา เพื่อที่จะได้ไม่ต้อง เ สี ย ด อ ก เบี้ย
และค่าตามทวง ห นี้ ชำระ ห นี้ รายเดือนให้ได้จำนวน เ งิ น ขั้นต่ำเป็น อ ย่ า ง น้อย ถ้ายังมี เ งิ น เหลือก็โปะ ห นี้
ให้มากหน่อยเพื่อลด เ งิ น ต้น หรือถ้าฝืดเคืองจริง ๆ ควรเลือก จ่าย ห นี้ ที่ มี ด อ ก เบี้ยสูงก่อนเพื่อ ตั ด ว ง จร
ด อ ก เบี้ยบานปลาย
3. นำไป ล ง ทุ น
การ ล ง ทุ น ที่ดีคือ การทำให้ เ งิ น ที่นอนอยู่นิ่ง ๆ ไปทำให้งอกเงย ซึ่งเราสามารถนำ เ งิ น ไป ล ง ทุ น ได้ตาม
รูปแบบที่สนใจและเหมาะสมกับรายรับรายจ่าย อ ย่ า ง ไรก็ตาม ทุ ก การ
ล ง ทุ นมีความ เ สี่ ย ง จึงจำเป็น อ ย่ า ง ยิ่งที่จะต้องศึกษา วิ ธี การ ล ง ทุ น ให้เข้าใจเป็น อ ย่ า ง ดี
และเลือกปรึกษาคนที่ไว้ใจได้เท่านั้น
4. รั ก ษ า สถานภาพทางการ เ งิ น
การบริหาร เ งิ น จะต้องมีวินัยและปฏิบัติต่อเนื่อง อ ย่ า ง เคร่งครัด ถ้าเริ่มทำได้เป็นระบบอยู่ตัวแล้วก็ต้อง รั ก ษ า
สถานภาพทางการ เ งิ น ไว้ให้ได้ตามมาตรฐานในตอนแรกด้วย ทั้งนี้ อ ย่ า ลืมแผน
สำรองสำหรับปรับการใช้ เ งิ น ให้ยืดหยุ่นตามสถานการณ์ด้วยเพียงเท่านี้สภาพการ เ งิ น ก็จะคล่องตัว
และมีความมั่นคงในระยะ ย า ว
5. ใช้จ่าย อ ย่ า ง รู้ตัว
ถ้าของมันต้องมี คงไม่ดีถ้าไม่ ซื้ อ ความ อ ย า ก ได้ อ ย า ก มี อ ย า ก กิน อ ย า ก ซื้ อ ที่เกินความจำเป็นในชีวิตเรา
นั้นมีกัน ทุ ก คน ดังนั้นเราสามารถ ซื้ อ ทุ ก อ ย่ า ง ที่ต้องการได้ตราบเท่า
ที่มี เ งิ น จ่ายแต่ต้องยึดกฎเหล็กว่าจะต้องไม่สร้าง ห นี้ และไม่ไปดึง เ งิ น ก้อนอื่นที่แบ่งไ
ว้แล้วก่อนหน้านี้มาใช้
6. แบ่ง เ งิ น ทันที
ทันทีที่ เ งิ น ออก สิ่งแรกที่ต้องทำคือจัดสรร เ งิ น ให้เป็นก้อน ๆ ก้อนหนึ่งไว้ใช้จ่ายทั่วไปในชีวิตประจำวัน
ก้อนหนึ่งใช้ ห นี้ อีกก้อนหนึ่งไว้ให้รางวัลตัวเอง และต้องไม่ลืมแบ่งอีกก้อนเป็น เ งิ น ออมไว้เผื่ออนาคต
ด้วยซึ่งการจัดสรร เ งิ น นี้สามารถประยุกต์ได้ตามรายรับรายจ่ายของแต่ละคน
7. บันทึกรายรับรายจ่าย
การควบคุมการใช้ เ งิ น ที่ดีที่สุดก็คือบันทึกการใช้ เ งิ น ของตนเองซึ่งประโยชน์จากการเขียนรายรับรายจ่าย
ทุ ก วันจะทำให้เรารู้รายละเอียดการใช้ เ งิ น ในแต่ละวันว่ามี เ งิ น ในกระเป๋า
อยู่เท่าไหร่หยิบใช้ได้มากน้อยแค่ไหน เมื่อใช้จ่ายไปแล้วเหลือเท่าไหร่อีกทั้งยังทำให้เราเห็นรายจ่ายส่วน
เกินได้ง่ายจึงช่วยให้ตัดค่าใช้จ่ายที่เกินความจำเป็นทิ้งได้ง่ายขึ้นตามไปด้วย
ขอบคุณที่มา : t o n k i t 3 6 0