1. รู้ตัวเองก่อนว่ามีอะไรมากกว่ากันระหว่าง “ทรัพย์สิน” กับ “ห นี้สิน”
หากว่าเพื่อน ๆ มีรายได้ เดือนนึง หลักหลายหมื่นแต่กลับมีรายจ่ายสูง พอ ๆ กับรายรับ สิ่งที่ควรใส่ใจ
อย่ างแรกเลยคือ ลิสต์รายการของทรัพย์สินเพื่อเปรียบเทียบ กับห นี้สิน ที่มีทั้งหมดครับ
และถ้าหากมานั่งงงว่า…เฮ้ยเราก็มีสินทรัพย์เยอะนะมือถือรุ่นใหม่ๆ, กล้องถ่ายรูปแพง ๆ ฯลฯ
แต่ทำไมยังจนอยู่ มีแต่ห นี้สิน คิดง่าย ๆ เลยครับ
มือถือ 1 เครื่อง ราคาประมาณ 25,000 – 30,000 บาทแต่ราคาขา ยต่อมูลค่า มันหายไป
แทบจะครึ่งนึงแล้วครับแค่นี้ก็พอจะมองออกแล้วใช่มั้ยครับ ว่าเพื่อนๆ
ต้องเริ่มกลับมาวางแผน การเ งินให้ตัวเองได้แล้วเริ่มต้นง่าย ๆ ที่เริ่มสะสมทรัพย์สิน
ที่ก่อให้เกิดรายได้เช่น หุ้นกองทุนรวมเป็นต้น
2. วางแผนเกษียณหรือยัง
“แ ก่ไม่ว่า แต่อย่ าแ ก่แบบไม่มีเ งินครับ” ที่บอกแบบนี้เพราะอย ากให้วางแผนเกษียณกันไว ๆ
ยิ่งวางเร็วยิ่งดี ดังนั้นการเริ่มต้น ตั้งแต่ วันนี้ก็เพื่อผลประโยชน์
สำหรับเราเองครับ ไม่ต้องลำบากลูกหลาน
3. สร้างงบการเงิ นในแบบของตัวเองได้แล้ว
แม้เพื่อน ๆ จะหาเงิ นได้มาก แต่หากบริหารเงิ นไม่ดีเงิ นที่ได้มาก็จะหายไปง่าย ๆ เรียกว่า..
“ร วยเดย์ร วยกันแค่วันสิ้นเดือน”
ดังนั้น สิ่งที่เพื่อน ๆ ต้องให้ความสนใจ ในลำดับถัดมาคือการสร้างงบรายจ่าย หากไม่รู้ว่า
จะเริ่มต้นยังไงให้เริ่มต้นจากงบการเงิ น 50-30-20 ดูครับ
(สิ่งจำเป็น, สิ่งอย ากได้, ออมฉุกเฉิน)
4. เริ่มทยอยปลดห นี้ให้หมดได้แล้ว
ไม่ว่าจะเป็นค่าผ่อนรถ, ค่าบัตรเครดิต,หรือแม้แต่ค่าผ่อนสินค้า 0% ต่าง ๆ
นั่นเพราะยิ่งปลดห นี้เร็วเท่าไหร่เราก็สามารถนำเงิ น ไปต่อยอดได้มากขึ้นเท่านั้นครับ
และถ้ายังไม่แน่ใจว่า จะปลดห นี้ยังไงดีแนะนำให้เริ่มจากดูว่า เรามีห นี้ทั้งหมดกี่ราย,
จำนวนเงิ นที่เป็นห นี้ของแต่ละราย และอัตราด อกเบี้ย
จากนั้นให้จัดลำดับห นี้ โดยให้ห นี้ที่มีอัตราดอ กเบี้ยสูงสุดอยู่ด้านบน และเริ่มต้นปลดห นี้
จากก้อนนั้นก่อนแล้วค่อย ๆ ทยอยปิดห นี้ก้อนอื่น ๆ ต่อไปจนหมดครับ
5. คุณต้องมีเงิ นสำรองฉุกเฉินอย่ างน้อย 6 เดือน
คิดจาก (รายจ่ายปกติต่อเดือน x 6เดือน = เงิ นสำรองฉุกเฉินที่ควรมี)เ งินจำนวนนี้ จะช่วยให้เราสามารถ
รับมือกับปัญหาด้านการเ งินได้โดยไม่ต้องกู้ยืมเ งินคนอื่น เพราะการกู้ยืมเ งิน อาจจะทำให้เรา
กลับเข้าไปอยู่ในวงจรห นี้อีกครั้ง
ขอบคุณที่มา : yakrookaset