1. อย่ าจำกัดสกิลตัวเอง
อย่ าคิดว่าเรามีความสามารถแค่นี้ ก็สมควรที่จะได้ทำงานแค่นี้
รับผิดชอบงานแค่ไม่กี่อย่ าง มีเงิ นเดือนแค่หลักพัน
คุณต้องเพิ่มมูลค่าและคุณค่าให้กับตัวเองด้วยการ ‘อัพสกิล’ เช่น
เก็บเ งินไปสอบวัดระดับภาษาให้ผ่ านเพื่อนำผลสอบนั้น
ไปยื่นเรื่องปรับเงิ นเดือนหรือ ย้ า ย ไปสมัครงานที่ใหม่หารายได้
เสริมจากทักษะที่ตนเองถนัด, ขยันทำโอทีเท่าที่จะมีแรงทำได้
(แต่ไม่หนักมากจนหักโหม)
2. โอกาสทางสังคมไม่จำเป็นต้องแพง
การประหยัด นอกจากไม่ได้แปลว่าการอดมื้อกินมื้อ ยังไม่ได้หมายถึง
การงดเข้าสังคมด้วยเช่นกัน การเข้าสังคมยังเป็นสิ่งที่จำเป็นเสมอ
ในการทำงาน
เพราะมันจะทำให้เราเข้าใจเพื่อนร่วมงานได้มากขึ้น ติ ดต่อ สื่ อ ส า ร
ทั้งในและนอกเวลางานได้ลื่นไหลขึ้น ไม่จริงเสมอไปว่ามันจะต้อง
เป็นค่าใช้จ่ายที่แพง ไม่ได้ประโยชน์อะไรเลย
มันเป็นค่าใช้จ่ายที่แลกกับมิตรภาพและประสิทธิภาพการทำงานที่ดีขึ้น
และเราก็เลือกได้ว่าจะเข้าสังคมแบบไหนถึงจะเหมาะ
เช่น ทาน อ า ห า ร ร่วมกันในร้านที่ไม่แพงมาก
แ ช ร์ อ า ห า ร กลางวันที่ทำมาจากบ้านร่วมกัน, ไปทำบุญร่วมกัน
เอาที่ตัวคุณเองสบายใจ และไม่สร้างความขัดแย้งกันก็พอ
3. ที่อยู่อาศัย ประหยัดได้ยิ่งดี
มนุษย์เงิ นเดือนหลายคนต้องหักเ งินเดือนครึ่งหนึ่งเป็นค่าเช่าที่พัก
ถ้าคุณอยู่บ้านหรือที่ทำงานคุณให้ที่พักฟรีล่ะก็ ไม่ต้องอายคนอื่นว่า
จะเป็นการเกาะใครกินรึเปล่า?
มาโฟกัสที่การเก็บเงิ นดีกว่านะ ยิ่งเราจ่ายให้ค่าที่พักได้น้อยมาก
หรือไม่จ่ายเลย เรานี่แหละมีโอกาสเป็นนายตัวเองได้ไว
ถ้าเทียบกับคนอื่นที่ยังติ ด วงจรใช้เ งินแบบเดือนชนเดือน
ในกรณีที่คุณจำเป็นต้องเช่าที่พักเอง หาที่อยู่ที่ปลอดภัยใน
วงเงิ นแค่ 2,500-3,000 บาท/เดือน เป็นอันพอ
4. อ า ห า ร มื้อหลัก ทานแบบถูกหรือฟรีก็ได้
มื้อหลัก ๆ ที่ทานไว้ กั น ต า ย ไม่จำเป็นต้องอร่อยมาก แต่ขอให้เน้นอิ่มไว้
เช่น อ า ห า ร ที่บ้าน, อ า ห า ร ในโรง อ า ห า รที่ทำงาน คุณจะได้มีเงิ น
เก็บอีกเยอะไปทำอะไรก็ได้
แต่อย่ าลืมคำนึงถึง สุ ข ภ า พ ตนเองด้วย อย่ าทานของที่ไม่มีประโยชน์
อย่ าถูกจนเข้าข่ายอดมื้อกินมื้อ ให้รางวัลตัวเองด้วยการทานของอร่อย ๆ
ในวันหยุดแต่ละสัปดาห์บ้างก็ดีนะ
ขอบคุณที่มา : sabailey