Home บทความ ทำแล้วชีวิตดีขึ้น วิ ธี ออม เ งิ น ด้วยสูตร 50/30/20

ทำแล้วชีวิตดีขึ้น วิ ธี ออม เ งิ น ด้วยสูตร 50/30/20

ปิดความเห็น บน ทำแล้วชีวิตดีขึ้น วิ ธี ออม เ งิ น ด้วยสูตร 50/30/20
0

วิ ธี การออม เ งิ น สูตร 50/30/20 ให้ชีวิตไม่ลำบากอีกต่อไป เมื่อพูดถึงการออม เ งิ น ใครหลายคนอาจคิดว่าเป็นเรื่องง่าย ๆ

แต่พอเริ่มลงมือทำจริง ๆ แล้ว มีหลายคนที่บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ แต่บางคนก็ ล้ ม เลิกกลางคัน

 

บางคนก็ผัดวันประกันพรุ่งไม่เริ่มต้น เ สี ย ที หากทิ้งไว้แบบนี้คงไม่ดีแน่ ยังไม่สายที่คุณจะเริ่มต้น “ปลูกต้น เ งิ น ออม”

เพื่อวางแผนด้านการ เ งิ น ให้มั่นคง ด้วย “ปุ๋ยสูตร 50-30-20”

 

(เทคนิคการออมของ Kyle Taylor เศรษฐีวัย 30 ผู้ก่อตั้ง บริษัท The Penny Hoarder)

ที่จะช่วยให้คุณ บรรลุเป้าหมายในการออมได้ อ ย่ า งไม่ ย า ก และแบ่ง เ งิ น ของคุณออกเป็นสัดส่วนดังนี้

 

50% = “ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น”

20% = “ เ งิ น ออมและชำระ ห นี้”

30% = “ใช้กับสิ่งที่ต้องการ”

 

แล้วสูตรการออม เ งิ น 50/30/20 มี วิ ธี การ แบ่ง เ งิ น อ ย่ า ง ไร…

มาดู วิ ธี แบ่ง เ งิ น ในแต่ละสัดส่วน อ ย่ า ง ละเอียดกันเถอะ

 

เ งิ น 50% = “ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น”

50% = ค่าใช้จ่ายที่จำเป็นอ้างอิงจากสูตรการออม เ งิ น 50/30/20 คุณควรแบ่ง เ งิ น ครึ่งหนึ่งของรายรับไ

ว้สำหรับใช้จ่ายกับส่วนที่จำเป็นในชีวิตอะไร คือ “ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น”ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น

 

คือ สิ่งที่คุณ ข า ด ไม่ได้และจำเป็นต้องจ่ายเช่นค่าบ้านค่าอาหารค่าเดินทาง และค่าสาธารณูปโภค อ ย่ า ง ค่าน้ำ

และค่าไฟหากคุณยังสับสน และไม่แน่ใจในการแบ่ง เ งิ น ในส่วนดังกล่าว ลองดูตัว อ ย่ า ง ดังต่อไปนี้

 

ตัว อ ย่ า ง ค่าใช้จ่ายที่อาจจะทำให้คุณสับสนการ ชำระห นี้เจ้าห นี้ มักจะกำหนดให้เราต้องชำระ เ งิ น จำนวนหนึ่ง

ในแต่ละเดือน ดังนั้น ค่าใช้จ่ายขั้นต่ำในการชำระห นี้จึง นับเป็นหนึ่งในค่าใช้จ่ายที่จำเป็นแล้วเราจะจัดการ

อ ย่ า งไรหากเรา อ ย า ก จ่ายมากกว่ายอดขั้นต่ำ

 

เพื่อไม่ให้สับสนและลำบากในการคำนวณเราจะนับค่าใช้จ่ายนอกเหนือจากการชำระห นี้ขั้นต่ำ

เป็นหนึ่งในสัดส่วนของ 20% ค่าสาธารณูปโภค อื่นๆโดยปกติแล้วเราจะนับว่าค่าสาธารณูปโภค คือ

ค่าใช้จ่ายที่จำเป็นแต่เมื่อคิดดูแล้วการคำนวณ เช่นนี้อาจจะไม่ถูกต้องสำหรับ ทุ ก คน

ตัว อ ย่ า ง เช่นหากคุณทำงานที่บ้านค่าอินเทอร์เน็ ต

 

จะจัดว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่จำเป็น แต่ถ้าคุณใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง

ค่าใช้จ่ายส่วนนี้จะถูกจัดว่าเป็นค่าใช้จ่ายกับสิ่งที่ต้องการ

 

ดังนั้น ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่า วิ ธี การแบ่งสัดส่วน เ งิ น เหมาะสมกับการใช้งานของคุณหรือไม่ใช้ เ งิ น เกินงบที่ตั้งไว้หรือไม่?

หากคุณตรวจสอบแล้วว่าค่าใช้จ่ายที่จำเป็นของคุณบางส่วนจัดอยู่ใน อีกสองหมวด ห มู่ เช่นกัน นี่อาจจะถึงเวลา

 

ที่คุณต้องลดค่าใช้จ่ายเพื่อให้อยู่ในงบประมาณที่ กำหนดเช่น ย้ า ยไปอยู่บ้านที่เล็กลง

ใช้บริการอินเทอร์เน็ตที่มีความเร็วช้าลงแต่ประหยัดมากขึ้น ลดค่าใช้จ่ายโดยการซื้อรถที่ราคาถูกลง

 

หากทำเช่นนั้นมีความเป็นไปได้สูงที่คุณจะสามารถลด ค่าใช้จ่ายได้มากกว่าที่คิดใช้ เ งิ น น้อยกว่างบที่ตั้งไว้ หรือไม่?

คุณช่าง โ ช ค ดีเหลือเกิน! ก่อนจะนำ เ งิ น ที่เหลือในแต่ละเดือนไปจับจ่ายใช้สอยเพื่อความบันเทิงคุณควรพิจารณา

และนำ เ งิ น ที่เหลือไปเก็บในส่วนของ เ งิ น ออมหรือนำไปชำระ ห นี้ เพื่อเพิ่มสภาพคล่องทางการ เ งิ น ของคุณ

 

เ งิ น  20% =  เงิ น ออมและชำระ ห นี้

20% = เ งิ น ออมและชำระ ห นี้ เ งิ น ในส่วนนี้นับเป็นส่วนสุดท้ายใน สูตรการออม เ งิ น 50/30/20

แต่ถือว่า เ งิ น ส่วนนี้เป็นสิ่งที่สำคัญเป็นอันดับสอง ของแผนการ เ งิ น นี้สิ่งที่ควรทำเพื่อประกัน

อนาคตของคุณก็คือ ชำระ ห นี้ เพิ่มเติม

 

ออม เ งิ น ไว้ใช้ในย ามฉุกเฉินเป้าหมายที่ดีคือ..ควรมี เ งิ น ย า ม ฉุกเฉิน อ ย่ า ง น้อยสามเท่าของรายรับ พ ย า ย า ม บรรลุ

เป้าหมายการออม เ งิ น และลงทุน เพื่อใช้ใน ย า ม เกษียณหากคุณมีห นี้จำนวนมากหรือรู้สึกว่าเป้าหมายในการออม เ งิ น

 

และ เ งิ น หลังเกษียณช่างห่างไกลเหลือเกิน อ ย่ า ลังเลที่จะลดค่าใช้จ่ายที่จำเป็น หรือลดค่าใช้จ่ายที่จะใช้กับสิ่ง

ที่ต้องการจนกว่าคุณจะมีสถานะทางการ เ งิ น ที่ดีขึ้น หลีกเลี่ยงการตั้งเป้าหมายการออม เ งิ น ที่สูงเกินไปแต่เริ่มจาก

เป้าหมายการออม เ งิ น ที่เราสามารถทำได้จริงในระยะ ย า ว

 

ควรจัดลำดับความสำคัญ อ ย่ า ง ไร..

หากคุณมี ห นี้ ค้างชำระ และไม่มี เ งิ น ไว้ใช้ ย า ม ฉุกเฉินเราขอแนะนำให้คุณจัดลำดับความสำคัญของสิ่งเหล่านี้ไว้ต้นๆ

มันไม่ใช่ความคิดที่ดีเลยที่จะละทิ้งการออม เ งิ น ระยะ ย า ว และออม เ งิ น สำหรับการเกษียณ

 

ยิ่งคุณแก้ปัญหาได้เร็วมากเท่าไหร่คุณก็จะเริ่มสะสม เ งิ น ได้เร็วมากขึ้นเท่านั้น แม้มันอาจจะเป็น เ งิ น จำนวนไม่มากก็ตาม

ข้อควรรู้เกี่ยวกับสิ่งที่จำเป็น และการอดออมอื่นๆมีเพียง เ งิ น สำหรับใช้ในย ามฉุ กเฉิ น การลงทุนสำหรับแผนการเกษียณ

และการเก็บ เ งิ น สำหรับเหตุการณ์สำคัญในชีวิต เช่น งานแต่งงาน บ้านหลังที่ใหญ่ขึ้น

 

สำหรับครอบครัวที่กำลังเติบโตเท่านั้นที่จัดอยู่ในหมวด ห มู่ นี้หากคุณต้องการเก็บ เ งิ น สำหรับทริปวันหยุดพักผ่อน หรือ ซื้อรถในฝันคุณ

สามารถเก็บ เ งิ น ส่วนนี้ได้ แต่ต้องให้แน่ใจว่า เ งิ น ส่วนนี้จะถูกจัดอยู่ในสัดส่วนของค่าใช้จ่ายกับสิ่งที่ต้องการ

 

เ งิ น 30% = ใช้กับสิ่งที่ต้องการ

30% = ใช้กับสิ่งที่ต้องการไม่ว่าคุณจะเลือกใช้จ่ายเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ความฟุ่มเฟือยเล็กๆน้อยๆ หรือ

เพื่อความสนุกสนานค่าใช้จ่ายเหล่านี้จัดว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นในการดำรงชีวิต แต่ทำให้ชีวิตของคุณมีสีสันขึ้น

หากคุณใช้ เ งิน  มากกว่า 30% ไปกับสิ่งที่ต้องการ นั่นหมายความว่า…ได้เวลาที่คุณจะตัด

หรือ ลดค่าใช้จ่ายในส่วนนี้แล้ว ในช่วงแรกคุณอาจจะลอง

 

เริ่มจากสิ่งที่คุณสามารถตัด หรือ ลดได้ทันทีนี่เป็นสิ่งสำคัญมากกว่าที่คิด

แน่นอนว่า.. คุณสามารถเว้ นการแบ่ง เ งิ น เข้าสัดส่วนนี้แล้วนำไปรวมกับอีกสองสัดส่วนข้างบนได้

 

ออม เ งิ น ถือว่าเป็นความคิดที่ดีมากโดยเฉพาะถ้าคุณกำลังประสบปัญหาทางด้านการ เ งิ น แต่ อ ย่ า ง ไรก็ตาม

การปล่อยให้ตัวเอง ไ ร้ซึ่งความสุขนั้น ไม่ใช่ผลดีในระยะ ย า ว อ ย่ า ง แน่นอน ดังนั้นเมื่อใดที่สามารถ

 

จัดสรร เ งิ น สัดส่วนข้างบนได้แล้ว อ ย่ า ลืมใช้ เ งิ น 30% ของรายได้ไปกับสิ่งที่คุณรักโดยไม่ต้องรู้สึกผิด

จะเริ่มออม เ งิ น โดยใช้ สูตร 50/30/20 อ ย่ า ง ไรเริ่มจากการคำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมด

 

และจัดเข้าหมวด ห มู่ และจะดียิ่งขึ้นไปอีก หากคุณสามารถอ้ าง อิ ง จากรายการ เ งิ น

ฝากถอนของธนาคารเพราะหากคุณคำนวณโดยการคาดเดาการคำนวณอาจคลาดเคลื่อนได้

คุณอาจจะพบว่า..ค่าใช้จ่ายบางส่วนของคุณ ไม่สามารถนำมาจัดอยู่ในหมวด ห มู่ 50/30/20 ได้

 

นอกจากนั้นค่าใช้จายของคุณอาจมากกว่า หรือน้อยกว่ารายได้ อ ย่ า กังวลไป นั่นอาจเป็นเพราะว่าคุณใช้

สูตร 50/30/20 โดยไม่รู้ตัวดังนั้นคุณอาจจะใช้เวลานี้ปรับแผนการ เ งิ น จนกว่าคุณจะพอใจหรือหากคุณ

ไม่สามารถปรับแผนการ เ งิ น ของคุณได้ลงตัว คุณอาจจะต้องวางแผนลดค่าใช้จ่ายบาง อ ย่ า ง

 

Load More In บทความ
Comments are closed.

Check Also

คนที่ให้เงินเขายืม มักจำได้ แต่คนที่ไปยืมเงินเขามามักจะลืม

คนที่ให้เ งิ นเขา ยื ม มักจำได้ แต่คนที่ไปยื มเ งิ นเขา … …