
“ทุ กวันนี้คนที่มีห นี้ ตื่นเช้าลืมตาขึ้นมาก็เพื่อออกทำงาน หาเงิ น เลี้ยงปาก
เลี้ยงท้ อง ยังไม่พอ ต้องใช้ห นี้ที่ ตามหล อก หล อนในหัวสม องทุ กวี่วัน
อย่ าได้ถามถึงเรื่องเ งินเก็บ เพราะทุ กวันนี้หาเ งินได้เท่าไหร่ก็ต้องเอาไปจ่ายห นี้หมด
แต่จะมีกี่คนที่รู้ว่า ถึงเรามีห นี้ เราก็ควรต้องแบ่งเงิ นเก็บไว้ด้วย เพราะผมพบตัวอย่ าง
คนใกล้ตัวที่มีห นี้ แต่ไม่มีเงิ นออมในบ้านเลย ลองอ่ านดูนะครับ…
วันหนึ่งลูกชายเพื่อนผมดันขิ่มอเตอร์ไ ซด์ไปช น ท้ ายรถหรูคันหนึ่ง
โ ชคดีที่เจ้าของรถยนต์ เขาเห็นบ าดเจ็ บหนั ก ก็เลยไม่คิดจะเอาเรื่อง
แต่ก็ต้องเสี ยค่ารั กษาพย าบ าลกับค่าซ่อมรถมอเตอร์ไซต์หมดเป็นหมื่น
เพื่อนเล่าไปก็ร้ องไ ห้ไป เพราะมันทุ กข์ใจว่าห นี้เก่ายังใช้เขาไม่หมด
ต้องกู้เ งินเพิ่มมารั กษาลูกอีก ทุ กวันนี้อย่ าได้คิดถึงเงิ นออมเลย
หาเงิ น แ ท บ ต ๅ ย ได้เท่าไหร่เอาไปจ่ายห นี้หมด ชีวิตนี้เป็นห นี้ไม่จบไม่สิ้นสักที
และนั่นเป็นจุดเริ่มต้นทำให้ผมต้องเริ่มคิดใหม่!!
ผมเริ่มคิดว่าตัวเองมองอะไรพล าดไปรึเปล่า นอกจากความรับผิ ดชอบในการใช้ห นี้
และสิ่งที่ผมพล าดคือ ลืมคิดถึงแผนสำรองเผื่อช่วงที่เกิ ดเ ห ตุ ก ารณ์ไม่ค าดฝัน
เช่น การเกิ ดอุบั ติเ ห ตุ มันทำให้ผมรู้ว่าคนที่มีห นี้
อย่ างน้อยก็ต้องมีเ งินออมที่เรียกว่า “เ งินฉุ กเฉิ น” เก็บไว้ด้วย เพราะเ งินก้ อนนี้สำคัญ
กับชีวิตมากจริง ๆ มาถึงตรงนี้หลายคนคงคิดว่า “มันเป็นไปไม่ได้หรอกนะ! ไม่เคยมีห นี้ล่ะ
สิถึงพูดกันแบบนี้”งั้นเรามาดูวิ ธีแบ่งเงิ นใช้ห นี้และมีเ งินเก็บแบบง่าย ๆ กันดีกว่า
ตรงนี้ผมขอบอกเลยว่าเริ่มง่ายมากกกก เริ่มจากเขียนบัญชีรายรับรายจ่ายเลยครับ!
ถ้าเงิ นมันมาทางไหนหายไปไหนจะได้มาดูย้อนหลังจากบัญชีนี้ได้ เมื่อถึงวันที่เงิ นเดือน
เข้าบัญชีหรือขายของมีรายได้เข้ามา ก็แบ่งเงิ นเป็น 2 กอง คือ กองที่เก็บและกองที่ใช้
กองที่เก็บ คือ เงิ นสดสำรองฉุ กเฉิ น (จำนวนรายจ่าย ให้อยู่ได้อย่ างน้อย 1-3 เดือน)
กองที่ใช้ คือ ใช้จ่ายห นี้สินและใช้จ่ายส่วนตัว
ทำบัญชี รายรับ – รายจ่าย
เทคนิคของผมง่ายนิดเดียวครับ แค่แบ่งเก็บก่อนใช้เสมอ ค่อย ๆ สะสมทีละนิดจนกระทั่ง
ครบตามจำนวนที่ตั้งไว้เช่น ถ้าเรามีรายจ่ายเดือนละ 10,000 บาท ดังนั้นเงิ นฉุ กเฉิ นต้องเตรียมไว้
คืออย่ างน้อย 10,000-30,000 บาท
โดยเริ่มต้นแบ่งเงิ นรายได้มาเก็บทุ กเดือน ๆ ละ 500 – 1,000 บาท จำนวนที่เก็บขึ้นอยู่กับความ
สามารถของแต่ละคนแต่ผมอย ากบอกว่าจำนวนเงิ นที่เก็บยังไม่สำคัญเท่าวินัยที่จะเก็บให้ได้ทุ กเดือน
เพราะหากมีวินัย เงิ นเก็บก็จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนครบในที่สุดครับ
หลังจากแบ่งเงิ นเพื่อเก็บแล้ว ก็แบ่งเงิ นอีกส่วนมาชำระห นี้ที่มีอย่ างสม่ำเสมอทุ กงวด จะได้มี
ประวัติเป็นลูกห นี้ที่ดีสุดท้ายเหลือเงิ นเท่าไหร่ก็ค่อยเอาใช้ส่วนตัวนะครับ
เหตุผลที่เราควรมี เงิ นสำรองฉุ กเฉิ น
ทำไมชีวิตคนเราควรมีเงิ นออม หรือที่ผมเรียกว่าเงิ นสำรองฉุ กเฉิ น? หากเราเกิ ด เ ห ตุไม่ค าด
คิดบ าดเจ็ บทำงานไม่ได้ 1 เดือนถ้าเรามีเงิ นฉุ กเฉิ นไว้ 1 เดือน เราก็ยังมีเงิ นมาพอใช้จ่ายในชีวิต
ประจำวันได้แต่หากเราเก็บไว้มากกว่านี้ก็ช่วยให้เราสบายใจได้มากขึ้น
เรื่องแบบนี้มันขึ้นอยู่กับความพอใจของแต่ละคน ซึ่งเงิ นฉุ กเฉิ นก้อนนี้
จะทำให้เรารอดพ้ น วิ ก ฤ ต ของชีวิต และทำให้เราไม่เป็นห นี้ก้อนโตเพิ่มนั่นเองครับ
ขอบคุณที่มา : khobjainas