ถ้าไม่มีลูก จะวางแผนชีวิตตอนแ ก่ยังไงดี? คำถามนี้คิดว่าหลาย ๆ คนอาจต้องการคำตอบ
ยิ่งยุคสมัยนี้คนไทยหลาย ๆ คนนิยมมีลูกกันน้อยลงเรื่อย ๆ หลายคนก็ตัดสินใจจะอยู่เป็นโสด
(ทั้งภาคบังคับและสมัครใจ)
หลายคนก็มีความรักแบบไม่ผูกมัด หลายคนก็แต่งงาน แต่ตัดสินใจไม่มีลูกด้วยเหตุผลต่าง ๆ
จึงเกิดตำถามคำถามว่าถ้าไม่มีลูกจะวางแผนชีวิตตอนแ ก่ยังไงล่ะ
แล้วเราจะต้องไปอยู่ที่ไหน และใครจะคอยดูแลเราสิ่งสำคัญของชีวิต ที่ไร้ทาย าท
คือ แผนการเงิ นที่พร้อมจะรับมือ ทุ กสถานการณ์ เมื่อไม่มีลูกที่อาจจะมาสร้างรายได้
ทดแทนเราตอนเกษียณ
การวางแผนเรื่องรายได้อย่ างสม่ำเสมอ จนถึงวันสุดท้ายของชีวิตจึงสำคัญมาก ๆ
เราควรเริ่มต้นวางแผนว่าจะมีชีวิตเกษียณด้วยเงิ นก้อน ขนาดเท่าไหร่ และจะหาเงิ น
ก้อนนั้นมาได้อย่ างไรบ้างความรู้ด้านการเ งินและการลงทุน
คือ เรื่องสำคัญ เราควรเรียนรู้และศึกษาเรื่องการวางแผนเกษียณตั้งแต่วันนี้คิดเอาไว้ตั้งแต่
ตอนนี้เลยว่า จะใช้ชีวิตตอนแ ก่อย่ างไร สิ่งที่สำคัญที่จะทำให้แผนการเ งินของเรา
ชัดเจนมาก คือ การวางแผนอย่ างชัดเจนว่าจะมีชีวิตอยู่อย่ างไรสำหรับคนที่อยู่ตัวคนเดียว
(โสดหรือคู่รักเ สียชีวิต)
หรือ คนที่อยู่กันเป็นคู่แต่ไม่มีทาย าท การเลือกอาศัยอยู่ในอสังหาริมทรัพย์สำหรับผู้สูงอายุ
ถือ ว่าเป็นทางเลือกที่ดีมากปัจจุบันมีบริษัทเอกชนมากมาย ที่หันมาจับตลาดความต้องการ
ในกลุ่มนี้ หลายบริษัทมีบ้านหรือ คอนโดมิเนียม
สำหรับผู้สูงอายุให้เลือกอยู่อาศัย สภาพแวดล้อมเหมาะสม สำหรับผู้สูงวัยตรงนี้ถ้าเราวางแผน
ไว้ก่อนเราก็สามารถเตรียมความพร้อมเรื่องเงิ นไว้ได้
1. การมีแผนการเงิ นของตนเอง คือสิ่งสำคัญที่สุด
ไม่ว่าเราจะอยู่ในครอบครัว แบบไหน มีลูก มีสามี มีภรรย า มีพ่อ มีแม่ มีชีวิตแบบใดก็ตาม
เราจำเป็นต้องมีแผนการเงิ นเสมอ เพราะสุดท้ายแล้ว
คนที่จะอยู่กับเราไปตลอดชีวิตอย่ างแน่นอนก็มีแค่ตัวเราของเราแค่คนเดียว คิดไว้ตั้งแต่วันนี้ว่า
จะมีชีวิตเกษียณแบบไหน จากวันนี้จนวันสุดท้ายจะมีชีวิตอย่ างไร
2. เตรียมที่อยู่ให้พร้อม
ตอนอายุยังไม่มาก คุณจะอยู่ที่ไหนก็ได้ แต่พออายุมากขึ้น คุณอาจต้องหาที่ทางอยู่ในย่ าน ที่เดินได้
มี Walkability อยู่ใกล้สถานพย าบาลหรืออยู่ใกล้ชุมชนที่สามารถหาซื้อข้าวของ
และบริการต่าง ๆ ได้โดยสะดวกซึ่งก็ต้องเตรียมแต่ เนิ่น ๆ เช่น คุณอาจทำงานอยู่กรุงเทพฯ
แต่คิดแล้วว่าตอนแ ก่จะไปอยู่เชียงใหม่ก็อาจเริ่มผ่อนบ้านหรือคอนโดฯ ที่เชียงใหม่
ไว้ก่อนเลยก็ได้
3. สำคัญที่สุด คือการรั กษาสุ ขภาพ
เรื่องนี้ แทบไม่ต้องบอกกัน ดูแลเรื่องการกินและการออกกำลังกายให้ดี และรั กษาส มอง
ให้แจ่มใสเอาไว้ด้วยอย่ าลืมวางแผนการเดินทางท่องโลกเอาไว้ตั้งแต่ตอนนี้ด้วยนะคะ
เพราะถ้าอายุมากขึ้นคุณอาจเดินทางไม่ไหวแล้วหรือไม่ก็ไม่สนุกเท่าวัยนี้แต่ก็ดูให้พอดี
กับงบประมาณและการออมของตัวเองด้วยการสูบบุห รี่หรือดื่มเห ล้ามากเกินไป
ไม่เป็นผลดีต่อร่ างกาย ถ้าทำได้ก็งดเว้นไปเสี ยเถอะเอาเ งินและเวลามาเตรียมตัวอยู่
อย่ างไร้คู่ไร้ลูกแต่ไม่ไร้สุขกันดีกว่าอย่ างไรก็ตาม ก็ต้องไม่ตึงเค รียด
กับการเก็บเ งินจนเกินไปด้วยนะคะ อย่ ามัวแต่เก็บเ งินกลัวแ ก่ อยู่นั่นจนไม่ได้หาความสุข
ความสบายเสี ยแต่เดี๋ยวนี้ แค่เตรียมตัวเอาไว้บ้างแ ก่ตัวไป
จะมีคู่อยู่ด้วย หรือไม่มีก็ต้องเตรียมมีคู่อยู่ก็คือมีเพื่อน ส่วนลูกนั้นถ้าไม่มีก็ไม่ต้องกังวล
เพราะเราได้เตรียมพร้อมเอาไว้หมดแล้ว หายห่วงค่ะ
4. เตรียมพร้อมรับมือทุ กสิ่ง ที่อาจเกิดขึ้นแล้ววางแผนดี ๆ
ความสำคัญในการวางแผนอนาคตให้รอบคอบ คือ การวางแผนให้ครบรอบด้านทุ กแง่มุมที่
อาจจะเกิดขึ้นเพื่อเตรียมตัวรองรับทุ กสถานการณ์ แม้ว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจะเป็นเรื่องไม่คาดคิด
ยกตัวอย่ างเช่น วางแผนว่าถ้าคนในครอบครัวเ สียชีวิตหมด เราจะทำอย่ างไร วางแผนถ้าคู่ชีวิต
เ สี ย ชีวิต ก่อนเราจะทำอย่ างไรวางแผนถ้าลูก เ สี ย ชีวิต ก่อน
เราจะทำอย่ างไรวางแผนว่าถ้าเราพิ การหรือทุพพลภ าพ เราจะทำอย่ างไรถึงแม้จะดูเค รียดไปบ้าง
แต่สิ่งเหล่านี้สามารถป้องกันความเสี่ ยงไว้ล่วงหน้าได้โดยเฉพาะเรื่องป ระกันชีวิตป ระกันสุ ขภาพ
ป ระกัน โ ร ค ร้ ายแรงต่าง ๆ ที่ช่วยลดความ เ สี่ ย งได้
5. ผูกมิตรใหม่ ๆ และอย่ าได้เลิกคบเพื่อนเก่า
สิ่งนี้ถือเป็นสิ่งสำคัญ เพราะการมีสายสัมพันธ์ ทางสังคมนั้นเป็นเรื่องที่หาค่ามิได้ เพื่อนใหม่ ๆ
ที่อายุน้อยกว่าคุณจะทำให้คุณตามโลกตามเทรนด์ทัน รู้ว่าเกิดอะไรขึ้นบ้าง และยังตื่นเต้น
กระฉับกระเฉง ไม่ต กยุคต กสมัย
ในขณะที่เพื่อนเก่า ๆ เป็นเหมือนบ้านที่แสนสบายทำให้คุณสบายใจเวลาได้อยู่ด้วย
ได้รื้อฟื้นเรื่องราวเก่า ๆ ด้วยกันมีการศึกษาพบว่า คนวัย 50 ปีขึ้นไป ที่ไม่มีเพื่อน
หรือมีเพื่อนน้อยเนื่องจาก
เพื่อนใหม่ก็ไม่คบ เพื่อนเก่าก็ค่อย ๆ ทยอยต ายไปทีละนิด จะเ สียชีวิต เร็วกว่าคนที่มีเพื่อน
เยอะถึงสองเท่าโดยไม่ขึ้นอยู่กับการดูแลรั กษาสุ ขภาพหรือสถานภาพทางสังคมด้วยนะคะ
เพื่อนจะช่วยให้คุณไม่เป็นโ รคซึมเศร้าในวัยชราซึ่งเป็นโร คที่อั นตรายมาก พบว่าคนวัย 65 ปีขึ้นไป
จะป่ วยเป็นโร คซึมเศร้ามากถึง 20% ซึ่งสูงมากนะครับ แล้วส่วนใหญ่ก็ไม่ค่อยยอมรับ
ด้วยว่าตัวเองป่ วย
ขอบคุณที่มา : yindeeyindee