การอยู่ในช่วงที่เกิดภาวะเศษฐกิจแบบนี้ และยังมี โ ร ค ร ะ บ า ด ซ้ำเติ ม หลายบริษัท หลายหน่วยงานก็ดูเหมือนจะได้รับผลกะทบ
จนทำให้เกิดการว่างงานกันเป็นจำนวนมาก หลายคนก็กำลังต กอยู่ในสถานะที่กลืนไ ม่เข้าคายไ ม่ออก
เพราะทางบริษัทต้องการให้เขียนใบลาออก ทั้ง ๆ ที่เราก็ไ ม่ได้สมัครใ จจะออก
แต่ถ้าเราไ ม่เขียนใบลาออก ทางบริษัทก็อ้างว่าเราจะไ ม่ได้ค่าตอบแทนชดเชย จำใ จต้องเขียนใบลาออกเอง ซึ่งหลายคนก็
ต กเป็น เ ห ยื่ อ ของบริษัทที่หล อกล่ อเราแบบนี้หากคุณกำลังต กอยู่ในสถานการณ์แบบนี้ เราขอแนะนำคุณว่า
อย่ าเขียนใบลาออกเ ด็ดข าด!! เพราะไ ม่เช่นนั้น คุณเองนั่นแหละที่จะเป็นคนที่เสี ยผลประโยชน์ซะเอง
หลายคนก็ยังไ ม่รู้ว่า หากเราถูกเลิกจ้าง เราจะได้รับ สิ ท ธิ และประโยชน์อะไรบ้าง
และหากเรายอมเขียนใบลาออก จะทำให้เราเสี ย สิ ท ธิเหล่านี้ไป
1. สิ ท ธิตามมาตรา 17 รับเ งินค่าบอกกล่าวล่วงหน้า
หากคุณเขียนใบลาออก คุณจะเสี ย สิ ท ธิในการรับเงิ นค่าบอกกล่าวล่วงหน้า จำนวน 1 รอบการจ่ายเงิ นเดือน
โดยถ้าคุณได้รับเงิ นเดือนเป็นราย 15 วัน ก็จะได้รับเงิ นค่าจ้าง 15 วัน หากเงิ นเดือนออกเป็นรายเดือน 30 วัน
ก็จะได้เ งินค่าบอกกล่าวล่วงหน้า 30 วัน
2. สิ ท ธิตามมาตรา 118 รับเงิ นค่าชดเชยตามอายุงาน
หากคุณเขียนใบลาออก คุณจะเ สีย สิ ท ธิในการรับเงิ นค่าชดเชยตามอายุงาน จาก 30 วัน จนถึง 300 วัน
แล้วแต่ใครจะมีอายุงานมากน้อย
สำหรับคนที่ใช้สัญญาจ้าง ตามเงื่อนไขข้อกฎหมายแล้ว การต่อสัญญาไ ม่ว่าจะเป็นสัญญารายปี ราย 6 เดือน ราย 3 เดือน
หรือสัญญารายเดือนในทางกฎหมายให้นับเป็นอายุงานต่อเนื่อง เมื่อนับแล้วครบตามเงื่อนไขข้อกฎหมายก็มี สิ ท ธิ์
ได้รับเ นค่าชดเชยเช่นกัน
3. เงิ นทดแทนการว่างงาน
หากคุณถูกเลิกจ้าง คุณจะได้ 50% ของ 180 วัน หากเขียนใบลาออกจะได้เพียง 30% ของ 90 วัน โดยคิดจากฐานเงิ นสมทบ
สูงสุดไ ม่เกิน 15,000 บาท และต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ว่างงานภายใน 30 วัน นับจากวันที่พ้นสภาพการเป็นลู กจ้าง
แต่ ก็มีข้อยกเว้นว่า นายจ้างไ ม่ต้องจ่ายค่าชดเชย และลู กจ้างไ ม่มี สิ ท ธิได้รับค่าชดเชย
คือ ลู กจ้างลาออกเอง หรือทำผิ ดเข้าข่ายข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้
1. ทุ จ ริต ทำผิ ดอ าญ าโดยเจตนา
2. จงใ จทำให้นายจ้างเ สียหา ย
3. ประมา ทเลินเล่อทำให้นายจ้างเสี ยห าย ร้ า ย แ ร ง
4. ฝ่าฝืนระเบียบ – ข้อบังคับ อันชอบด้วย ก ฏ ห ม า ย
5. หยุดงาน 3 วันติ ดต่อกัน โดยไ ม่มีเห ตุอันสมควร
6. รับ โ ท ษจำ คุ ก ตามคำสั่งศ าล
ดังนั้น ก่อนที่เราจะเขียนใบลาออก หรือเซ็นรับรองเอกส ารใด ๆ ควรอ่ านทำความเข้าใ จเนื้ อหาในนั้นอย่ างละเ อียดถี่ถ้วน
และศึกษาหาข้อมูลของ สิ ท ธิประโยชน์ที่เราพึงมี และที่ควรได้รับทั้งหมดให้เรียบร้อย
เพื่อ รั ก ษ า ผลประโยชน์ของเราเอง ไ ม่ให้ใครมาเ อาเปรียบเราได้เราจะเห็นตัวอย่ างจากหลายกรณีที่พบเจอบ่อย ๆ
ที่นายจ้างไ ม่อย า กจะจ่ายเงิ นชดเชย จึงบังคับให้ลู กจ้างเขียนใบลาออกเอง ทำให้เสี ย สิ ท ธิที่จะได้รับไปอย่ างน่าเสี ยดาย
ขอบคุณที่มา : fashionfuns