ให้ปลาลูกหนึ่งตัว มีกินแค่หนึ่งวัน สอนลูกจับปลา หากินได้ตลอดไป
จงอย่ าให้ปลาแ ก่เขา… ควรจะให้เบ็ดต กปลาเขาไป แล้วสอนวิ ธีการหาปลาให้แ ก่เขา
เพื่อให้เขารู้จักการเอาตัวรอดในสังคมและ รู้จักการหากินด้วยตัวของเขาเอง
มีเรื่องเล่าเรื่องหนึ่งว่า…
วัยรุ่นคนหนึ่งขอเงิ นแม่ไปเที่ยว แม่บอกว่า ลูกรู้ไหมว่าสมัยแม่อายุเท่าลูก ไม่เคยเที่ยวที่ไหน
ต้องทำงานทุ กอย่ าง พับถุงกระดาษขาย ตัดใบตองขนไปส่งขายในตลาด
แต่ละบาทแต่ละสตางค์ต้องอาบเหงื่อต่างน้ำ
ลูกนั่งฟังแม่เงียบ ๆ… ลูกต้องรู้จักความลำบาก ไม่งั้นอีกหน่อย เกิดไม่มีแม่แล้วจะทำยังไง
ซักผ้าเองยังไม่ได้ ขึ้นรถเมล์ก็ไม่เป็นใช้เงิ นอย่ างนี้ จะเอาตัวรอดได้ยังไง เมื่อแม่เทศน์จบ
ก็ควักเงิ นยื่นให้ลูก นี่ไม่ใช่เรื่องแต่ง พ่อแม่จำนวนมากทำอย่ างนี้
เมื่อลูกขอเงิ นไปเที่ยว จะพร่ำบ่นลูก และ เล่าเรื่องเมื่อตนเผชิญความลำบากในสมัยก่อน
เล่าย้อนไปถึงชีวิตลำบากของตนในวัยเท่ากัน แล้วปิดท้ายด้วยการให้เงิ นลูกไป
คนหาเช้ากินค่ำ สมัยก่อนไม่มีคำว่า… “มรดก” ในพจนานุกรมชีวิต ทุ กอย่ างในชีวิตต้องหามาเอง
ทว่าคนรุ่นนี้เมื่อลืมตาอ้าปากได้ และ เป็นพ่อแม่ มักจะทำให้ลูกเสี ยคนโดยไม่ตั้งใจ
พ่อแม่จำนวนมากเก็บเงิ นเก็บท องไว้ โดยไม่ยอมใช้ บอกว่า… “เก็บไว้ให้ลูก”
เหตุผลอาจเพราะ พ่อแม่ไม่ อ ย า ก ให้ลูก ผ่ านความลำบากเหมือนตัวเอง
การเตรียมทุ กอย่ างให้ลูก เหมือนสะท้อนสิ่งที่ตัวเอง อ ย า ก ได้ในวัยเ ด็ก แต่มันกลับสร้างนิสัย
“ไม่สู้งานหนัก” ให้ลูก… ไปโดย ป ริ ย า ย ไม่มีเงิ นเป็นปัญหา มีเงิ นก็เป็นปัญหา บางครั้ง
และ บ่อยครั้งการมีเงิ นมาก อาจทำให้เลี้ยงลูก ย า ก ขึ้น
เงิ นก็เหมือน ไ ข มั น ใน ร่ า ง ก า ย น้อยไปก็ไม่ดี มากไปก็ ” อั น ต ร า ย “
ในสังคมบูชาคนร วย และ การร วยทางลัด การอบรมสั่งสอนลูก เดี๋ยวนี้ ย า กขึ้นเรื่อย ๆ เพราะสิ่งเร้ารอบตัว
ทางเดียวที่จะให้ลูกโตขึ้น แล้วยืนด้วยลำแข้งของตัวเองได้ คือต้องสอนเรื่องวินัยการใช้เงิ น
และความอดทน การรู้จักใช้ชีวิต และ รับผิดชอบตัวเอง
อย่ าสร้างปัญหาแ ก่สังคม ไม่พอกพูนด้วย ” ไ ข มั น แ ห่ ง วั ต ถุ นิ ย ม “ มากเกินไป
พ่อแม่ต้องมองภาพกว้างและมองให้ออกว่า หากให้มากเกินไปจะทำให้ลูกไม่รู้จักหามาด้วยตัวเองหรือไม่
ทำอะไรไม่เป็นเลยหรือเปล่า กลายเป็นรอแต่แบมือขออย่ างเดียว
ความรักย่อมเป็นเรื่องดี แต่ต้องรักให้ถูกวิ ธีด้วย คนร วยที่ฉลาด รู้ว่าการได้เ งิน เป็นเรื่องง่ายกว่าการใช้เงิ น
และ คนที่ไม่รู้จักหาเงิ นมักใช้จ่ายเงิ นฟุ่มเฟือยคนที่ร วยจากสมบัติที่ได้มาง่าย ๆ จากมรดก
อาจจะข าดความรู้สึกดี ๆ ของการสร้างตัวด้วยตัวเอง
ข าดความภาคภูมิใจของการหามาได้ และ ทักษะการแก้ปัญหาชีวิต มีตัวอย่ างจริงไม่น้อยที่คนร วย
แบ่งสมบัติครึ่งหนึ่ง ให้องค์กรการกุศลและ ที่เหลือให้ลูกหลาน เพื่อให้ลูกๆเรียนรู้ที่จะยืนด้วยตัวเอง
และ สร้างมันขึ้นมาใหม่
มหาเศรษฐีลำดับต้นๆ ของโลกอย่ าง วอร์เรน บัฟเฟตต์ บอกว่า… ลูกๆ ของเขาจะต้องแผ้วถางทางของพวกเขาเอง
แน่นอนลูก ๆ ของเขาก็รู้ว่า เขารอช่วยทุ กอย่ าง แต่ก็ต้องลงแรงทำงาน การให้เงิ นท องแ ก่ลูกหลาน
ด้วยจำนวนที่มากพอสบายทั้งชีวิต
เพียงเพราะพวกเขาเกิดมาในครอบครัวที่ร่ำร วย เป็นเรื่อง อั น ต ร า ย
เพราะการให้อาจทำ ร้ า ย ลูก ๆ ทางอ้อม บัฟเฟตต์จึงให้มรดกแ ก่ลูกหลาน มากพอที่พวกเขารู้สึกว่า
สามารถทำอะไรก็ได้
แต่… ไม่มากพอที่พวกเขา ไม่ต้องทำอะไรเลย เราต้องสอนค่านิยมชื่นชมบุคคลที่สร้างตนเองจากศูนย์
หาเงิ นอย่ างสุจริตรู้คุณค่าของการทำงาน การสร้างตัว สิ่งที่ควรให้ลูกๆมากกว่าเงิ นก็คือความเอาใจใส่
รับรู้กิจกร รมที่ลูกทำเป็นเพื่อนกับลูก
นี่อาจเป็นสิ่งที่มีค่ากว่าการให้เงิ นอย่ างเดียว ตามสุภาษิตที่ว่า… “
สอนลูกจับปลา ไม่ใช่จับปลาให้ลูก”
ขอบคุณที่มา : sabailey