1. สิ่งที่เราเรียนมาเป็นสิบ เป็นร้อย มันคือ“การหล่อหลอม”
หลายวิชาไม่ได้สอนเราทางตรง แต่ให้เราค่อย ๆ ซึมซับข้อดี แต่ละอย่ างไปเองเช่น
ฝึกความอดทน ฝึกความประณีต ฝึกทักษะการเข้าสังคม
2. มนุษย์เราควรมีทางเลือก ให้กับชีวิตไว้หลายด้าน หรือ “มีแผนสำรอง”
เพื่อไม่เป็นการปิดกั้นตัวเองจนเกินไป เช่น ถ้าวุฒิที่เราเรียนมามันหางานย าก
จะยอมรึเปล่า ที่เอาวุฒิต่ำกว่านี้ หางานไปก่อน
ถ้าเราไม่ได้อาชีพนี้ เรายอมได้รึเปล่า ที่จะทำอาชีพอื่นไปพลาง ๆก่อนความฝัน
สิ่งที่ใช่ มันไม่ควรเป็นสิ่งที่ได้ดั่งใจในทันที
3. มันเป็นเรื่องธรรมดาที่มนุษย์เรา จะต้องวิ่งตามหาสิ่งที่ “ใช่”
ค่อย ๆ เรียนรู้ ค่อย ๆ ปรับตัวไป สิ่งที่เรากำลังสนุกในตอนนี้ บางทีอาจจะยังไม่ใช่ที่สุด
สิ่งที่เราเก่งในตอนนี้ ในวันข้างหน้า มันอาจเป็น
เพียงแค่ความทรงจำ เพราะอาจมีหลายปัจจัยให้คิดมากขึ้น เช่นจำเป็นต้องพับโครงการ
เรียนต่อเอาไว้ เพราะเงิ นไม่พอ จำเป็นต้อง
ทำงานหาเงิ นก่อน แล้วค่อยไปเรียนศิลปะที่เราชอบ เราต้องดูจังหวะ
ของชีวิตด้วย (ความจำเป็นของชีวิตแต่ละช่วง)
4. แม้แต่ในคนคนเดียว ยังมีความสามารถที่หลากหลาย เช่น เป็นหมอ
แต่ก็เล่นดนตรีเก่ง ทำอาหารเก่ง เป็นศิลปิน แต่ก็คำนวณเก่ง ขับรถเก่งในครั้งหนึ่ง ที่เราไม่เห็น
ประโยชน์ว่า จะใช้อะไรได้จริง พอโตขึ้นอีกหน่อย
มันก็ต้องมีบ้าง ที่เรานึกอะไรขึ้นมา จนต้องไปหาอ่า น ปัดฝุ่นตำราอีกครั้งทุ กความรู้ที่เราได้รับ
ไม่เคยสูญเปล่า แค่เรามองไม่เห็นค่ามันเองลองนึกดูให้ดีสิ
5. มนุษย์ทุ กคนมีความสามารถในตัวเอง “แต กต่าง”กันไป เราไม่จำเป็น
ต้องเก่งเหมือนกันหมด
6. สิ่งที่เรา “เก่ง” ไม่จำเป็นต้องออกมา ในรูปแบบวิชาชีพ เช่น
หมอวิศวกร พย าบาล มันอาจเป็นพรสวรรค์ก็ได้ เป็นความรู้อะไรก็ได้ที่เราเอาจริงกับมัน เช่น
การทำอาหาร การจัดสวน การออกแบบไม่อย่ างงั้น เราคงไม่เห็นนักธุรกิจหน้าใหม่หลายคน
ผุดขึ้นเป็นด อกเห็ดหรอก
ขอบคุณที่มา : stand-smiling