
เมื่อไม่นานมานี้ ผู้เขียนได้อ่ านหนังสือ “90 วัน ออมเปลี่ยนชีวิต”
ซึ่งเป็นหนังสือแปลจากภาษาญี่ปุ่นของสำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
บนหน้าปกมีข้อความว่า “สำหรับครอบครัวคนธรรมดา ที่ไม่มีโอกาสร วยทางลัด”
และ “พิสูจน์แล้วจาก 3,800 ครอบครัว ที่ปลดห นี้ได้จริง”
ผู้เขียนพบว่ามีแนวคิดที่น่าสนใจหลายอย่ าง ในบทความนี้
จึงขอเลือกมาแบ่งปันให้กับผู้อ่ าน 5 ข้อ คือ
1. เงิ นสำรองเผื่อฉุ กเฉิน 1 ปี
โดยทั่วไปเรามักจะได้ยินว่า เราควรมีเงิ นเก็บไว้ใช้ย ามฉุ กเฉิน 3-6 เท่าของค่าใช้จ่ายในแต่ละ
เดือนของเรา หรือ 12 เท่า หากรายได้ของเราไม่แน่นอนแต่คุณโยโกย ามะ ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้
ได้ฟั นธงเลยว่า ดีที่สุดคือให้เก็บ 1 ปีไปเลย และเป็นเงิ นเท่ากับรายได้ 1 ปี (ไม่ใช่รายจ่าย)
เพื่อให้อุ่นใจว่า เราจะมีเงิ นพอในการใช้ชีวิตและใช้จ่ายต่าง ๆ ไม่ว่าเศรษฐกิจจะแ ย่ขนาดไหนก็ตาม
2. วิ ธีออมเงิ นที่ง่ายที่สุดคือลดรายจ่าย
หลายคนอาจจะเคยลองหาวิ ธีทำให้ตนเองมีเงิ นเก็บมากขึ้น โดยการหางานพิเศษทำบ้าง ลดค่าใช้จ่าย
บ้าง หรือทำทั้งสองวิ ธีควบคู่กันไปคุณโยโกย ามะเฉลยว่า วิ ธีที่ง่ายและยั่งยืนที่สุด
คือ การลดค่าใช้จ่าย ใคร ๆ ก็ทำได้และทำได้อย่ างต่อเนื่องส่วนวิ ธีการหารายได้เพิ่ม อาจจะเหมาะกับคน
ที่มีธุรกิจส่วนตัว นอกจากนั้น เขายังยืนยันว่า การประหยัดนั้นไม่จำเป็นต้องน่าเบื่อ
สามารถทำให้สนุกได้ โดยการหาวิ ธีประหยัดที่เหมาะกับนิสัยและ
พฤติกร รมของตนเอง และตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน
3. เป้าหมายคือสัดส่วนการใช้เงิ น มากกว่าจำนวนเ งินที่ใช้ไปจริง
เรามักจะคุ้นเคยกับการตั้งเป้าหมายในการออมเ งินเป็นจำนวนเ งิน
เช่น เดือนนี้จะออมให้ได้กี่บาท หรือจะใช้เงิ นไม่เกินกี่บาท
คุณโยโกย ามะเสนอว่า ทางที่ดีกว่าคือ ควรจะคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ให้เราแบ่งการใช้เงิ น
ออกเป็น 3 ประเภท คือ ใช้อุปโภคบริโภค ใช้ฟุ่มเฟือย และใช้ลงทุน
และพย าย ามเพิ่มสัดส่วนการใช้ลงทุน เป้าหมายของเขาคือ ให้มีสัดส่วนการใช้เงิ น
เพื่ออุปโภคบริโภค 70% ใช้ฟุ่มเฟือย 5% และใช้ลงทุน 25%
4. ระยะเวลาที่เหมาะสมสำหรับภารกิจออมเ งินคือ 90 วัน
สาเหตุที่ภารกิจออมเงิ นแต่ละช่วงของคุณโยโกย ามะใช้เวลา 3 เดือน เริ่มจากวันที่เงิ นเดือนออก
เพราะว่าระยะเวลาไม่สั้นไป ทำให้สามารถเห็นความเปลี่ยนแปลงได้
และไม่ย าวไป ทำให้สามารถปรับเปลี่ยนเป้าหมายครั้งต่อไปได้ง่ายในระหว่างที่ทำภารกิจนั้น
สิ่งที่คุณโยโกย ามะแนะนำให้ทำ เช่น ทำบันทึกรายรับรายจ่ายเพื่อให้เรารู้ว่า
เราใช้เงิ นไปทำอะไรบ้าง อยู่ในสัดส่วนที่เราต้องการหรือไม่ไม่ใช้บัตรเครดิต เพื่อให้รู้ว่า เรามีปัญห
าเรื่องการชักหน้าไม่ถึงหลังหรือไม่ และอาจช่วยให้เราประหยัดเงิ นเนื่องจากการ
ต้องคิดไตร่ตรองก่อนเขียนบันทึกสิ่งที่ตนเองนึกคิด 3 บรรทัดทุ กวัน เพื่อให้เข้าใจอ ารมณ์และ
ความรู้สึกของตนเองมากขึ้น ลิสต์รายการห นี้สินและจ่ายคืน ฯลฯ
5. สร้างนิสัยการออมเ งิน
เมื่อจบ 3 เดือนแล้ว ให้ทบทวนเป้าหมายและผลลัพธ์ที่ได้ สังเกตพฤติกร รมการใช้เงิ นของเรา
โดยดูจากสมุดบันทึกรายรับรายจ่ายและทำโปรแกรมออมเงิ นสำหรับ 3 เดือนถัดไป
โดยปรับรูปแบบให้เข้ากับพฤติกร รมของเรา ทำอย่ างนี้ไปเรื่อย ๆ จนเกิดเป็นนิสัย เราจะสามารถออมเงิ นได้ดี
การไปสู่เป้าหมาย ขอให้เรามีความตั้งใจแน่วแน่ และลงมือปฏิบัติเพื่อให้ไปถึงเป้าหมายนั้น
โดยไม่ถอดใจยอมแพ้ไปก่อนหากไม่สามารถออมเงิ นได้สักที คุณโยโกย ามะแนะนำว่า อาจต้องหาคนสนิท
มารับรู้ว่า เราตั้งใจจะทำอะไรเพื่อเป็นแรงผลักดันทั้งนี้ เราต้องไม่โ ทษสภาวะแวดล้อม และเปลี่ยนความ
ขัดสนเป็นแรงกระตุ้นให้เรามุ่งไปข้างหน้าต่อไป
ขอบคุณที่มา : na-aan