1. ทบทวนก่อนจ่าย
เช่น สมาชิกฟิตเนส จ่ายก่อนออกกำลังกายทีหลังอย่ างนี้ สุดท้ายจ่ายรายครั้งคุ้มค่ากว่า
เพราะกว่าจะงัดตัวเองไปออกกำลังกายได้เนี่ย ก็ต กเดือนละครั้งเอง
เราควรประเมินตัวเองว่างแค่ไหน สะดวกไหม ที่พอจะไปออกกำลังกายได้ หากไม่ว่าง
จงตัดใจจากสมาชิกรายปี เป็นรายครั้งพอ คุ้มกว่า
2. ต้องรู้ว่าจ่ายไปกับอะไรบ้าง
ควรรู้ละเอียดชัดเจนอย่ าสับสน เพราะมันเป็นสิ่งที่เงิ นของเราต้องใช้ไป ถ้าเราไม่รู้
แล้วใครจะมารู้กับเรา จงใส่ใจทุ กรายละเอียดทางการเ งินซะ
เช่น คุณจ่ายเงิ น เพื่อเป็นสมาชิกสินค้า หลายคนไม่ค่อยสนใจเวลามีอีเมล์ เตื อน
ค่าใช้จ่ายของเราเด้งขึ้น ซึ่งเป็นการฝึกวินัย ให้เรารู้ตัวเรื่องการใช้เ งิน
รวมไปถึงบางเรื่อง เขาอาจส่งโปรโมชั่นใหม่ ๆ
เพื่อช่วยประหยัดเงิ นให้เรา เราควรสนใจบ้าง
3. ควรใช้ประโยชน์จากบิลต่าง ๆ
ค่ารั กษาทางการแพทย์ หากเบิกได้ก็จงเบิก ใช้สวัสดิการให้เต็มที่ แบบเดียวกับที่ทำงาน
ให้ออฟฟิศอย่ างหนักไง เขาใช้งานเรา เขายังไม่เกรงใจเลย
เราก็ต้องใช้สวัสดิการ ที่เราได้รับให้คุ้มค่า เวลาไปชอปปิ้งเดี๋ยวนี้มักมีโปรโมชั่นท้ายบิล
อ่ านให้ละเอียด หากใช้ประโยชน์จากมันได้ ก็เอามาใช้ดีกว่านะ
4. กล้าที่จะพูดปฏิเสธสิ่งที่ไม่อย ากทำ
อย่ าคิดที่จะทำลายงบประมาณในใจของตัวเอง เพียงเพราะคำว่าเกรงใจคำเดียว
ท่องเอาไว้เงิ นของคุณ กระเป๋าของคุณ
5. เรียนรู้ที่จะลงทุนเอาไว้
จงเรียนรู้ที่จะใช้เงิ นต่อเ งินให้เกิดประโยชน์เข้าไว้ เพราะเงิ นออมนั้น
สร้างรากฐานที่มั่นคงได้ แต่เงิ นลงทุนจะช่วยให้เงิ นงอกเงย
รู้จักประเมินความเ สี่ยงที่คุณรับได้ เลือกระดับการลงทุนที่เหมาะ
ไม่ว่าจะเป็นสลากออมทรัพย์ กองทุนหุ้น ขึ้นอยู่กับคุณรับได้แค่ไหน
6. การวางแผนนั้นสำคัญ
การจัดการงบประมาณ เป็นเรื่องใหญ่ ฉะนั้นอย่ าละเลย กี่ครั้งกี่หนที่คุณใช้จ่ายเงิ นไป
แบบไม่รู้ว่าเงิ นหายไปไหน เลิกนิสัยเสี ย ๆ พวกนี้ซะ
กำหนดงบประมาณ ค่าใช้จ่ายทุ กครั้ง เพื่อจะได้รู้ว่าเงิ นคุณ ไปไหนหมด
ขอบคุณที่มา : aanplearn