Home บทความ นิสัยของ ค น ร ว ย ที่คนจนไม่รู้

นิสัยของ ค น ร ว ย ที่คนจนไม่รู้

ปิดความเห็น บน นิสัยของ ค น ร ว ย ที่คนจนไม่รู้
0
นิสัยของ ค น ร ว ย ที่คนจนไม่รู้

 

1. คนร วยพูดเกี่ยวกับเรื่องไอเดีย

คนชั้นกลางพูดเกี่ยวกับสิ่งของ

คนจนพูดถึงเรื่องของคน อื่น

นี่ไม่ได้หมายความว่า คนร วยไม่พูดเกี่ยวกับ เรื่องสิ่งของหรือคนอื่น แต่หมายถึงว่า

คนร วยจะพูดถึงเรื่องของคนอื่นน้อยกว่าคนจ น และมักจะเป็นคนที่มีแนวความคิดดี ๆ

 

หรือมีมุมมองต่าง ๆ มากกว่าคนชั้ นกลางและคนจน เบื้องหลังของนิสัยในเรื่องนี้คงอยู่ที่ว่า

คนร วยนั้นมักจะมีความคิ ดสร้างสรรค์มากกว่าคนจน ซึ่งมักจะชอบ “ซุบซิบนินทา” เ ป็นนิจสิน

ในขณะที่คนชั้นกลางอาจจะเน้นการทำงานประจำ ชอบพูดถึงเรื่องรถยน ต์ ดนตรี การพักผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น

 

2. คนร วย คิดย าว

คนชั้นกลา ง คิดสั้น คนจน คิดสั้นที่สุด

คนจนมักจะคิดอะไรแบบวันต่อวัน ทำนองหาเช้ากิ นค่ำ คนชั้นกลางมักจะคิดเป็นเดือนต่อเดือน

นั่นคื อคิดถึงวันเ งินเดือนออก แต่คนร วยจะต้องคิดย าวเป็นปี ๆ หรือเป็นสิบ ๆ ปี

ในใจของคนจนนั้น เขามักคิ ดแต่เฉพาะเรื่องของความอยู่รอดเป็นหลัก ในขณะที่คนชั้นกลาง

 

คิดถึง เรื่องความสุขสบายจากการจับจ่ายใช้สอยสินค้า ส่ วนคนร วยนั้น

เป้าหมายของพวกเขาชั ดเจน เขาต้องการความเป็นอิสระทางการเงิ น การคิดย าวนั้นมีพลังมหาศาล

เพราะมันจะทำให้เขาอดออมและลงทุนระยะย าว ซึ่งจะทำให้เ งินงอกเงยแบบทบต้นเป็นเวลานาน

และนี่คือสูตรสำคัญที่สุดในการที่จะทำให้คนมั่งคั่ง

 

3. คนร วยกล้ารับความเ สี่ยง (ที่ได้มีการพิจารณาและไตร่ตรองดีแล้ว)

คนจนและคนชั้นกลาง กลั วที่จะรับความเ สี่ยง นี่เป็นนิสัยที่เป็นจุดอ่อนมากที่สุด

ของคนจนและคนชั้นกลาง ในความเห็นของผม คนที่ไม่ยอมรับความเ สี่ยงเลยนั้น

มักพลาดที่จะได้รับผลตอบแทนดี ๆ โดยสิ้นเชิง ส่วนคนที่กล้ารับความเ สี่ยง

 

(ที่ได้มีการศึกษา-วิเค ราะห์ มาเป็นอย่ างดี) จะสามารถสร้างผลตอบแทนที่ดีได้

โดยความเ สี่ยงจริง ๆ นั้นจะมีน้อยมาก ตัวอย่ างที่เห็นชัดเจนที่สุด

ก็คือ คนชั้นกลางส่วนใหญ่นั้นมักจะกลัวการลงทุนในหุ้น หรือตราส ารการเ งินที่มีความผันผวนของราคา

 

โดยที่เขาไม่พย าย ามศึกษาว่า ในระยะย าวแล้วมันอาจจะมีความคุ้มค่ากว่าการฝากเงิ นในธนาคารมาก

ในอีกมุมหนึ่ง คนที่กล้ารับความเ สี่ยงอย่ าง “บ้าบิ่น” เช่น คนที่เล่นหุ้นวันต่อวัน

ก็ไม่ใช่นิสัยของคนร วย คนร วยนั้นจะต้องรับความเ สี่ยง เฉพาะที่มีการพิจารณาอย่ างถี่ถ้วนแล้วเท่านั้น

 

4. คนร วย ยอมรับการเปลี่ยนแปลง

คนจนและคนชั้นกลาง ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง

คนชั้นกลางรู้สึกว่า การเปลี่ยนแปลงจะคุ กค ามชีวิตความเป็นอยู่ที่ตนเองเคยชิน

ในขณะที่คนร วยนั้นคิดว่า การเปลี่ยนแปลงอาจนำมาซึ่งชีวิตที่ดีกว่า

 

เขาคิดว่าในการเปลี่ยนแปลงนั้น มักมีโอกาสที่เขาอาจจะคว้าไว้ได้

เบื้องหลังนิสัยนี้อาจจะมาจาก การที่คนร วยมีความมั่นใจสูงกว่าคนชั้นกลาง

ที่มักกลัวว่าตนเองจะไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งใหม่ ๆ ได้

 

5. คนร วย ทำงานเพื่อหากำไร

คนจนและคนชั้นกลา ง ทำงานเพื่อจะได้ค่าจ้าง

คนร วยมองว่า นี่คือหนทางที่จะทำให้ร วยได้ มากกว่า แม้ว่าจะมีความเ สี่ยง

 

ในขณะที่คนชั้นกลางนั้นมักจะไม่กล้าเ สี่ยง และอาจจะมีความ คิดสร้างสรรค์น้อยกว่า

จึงมุ่งไปที่การหางานที่มีรายได้แน่นอน แต่รายได้จากการใช้แรงงานของตนเองนั้น มีน้อยคนที่จะร วยได้

 

6. คนร วย เรียนรู้และเติบโตตลอดชีวิต

คนจนและคนชั้นกลาง คิดว่าการเรียนรู้จบที่โรงเรียน

นิสัยการเรียนรู้ไปเรื่อย ๆ นี้ ผมคิดว่าเป็นหัวใจเศรษฐีจริง ๆ เพราะในความรู้สึกของผมเอง

การเรียนรู้จากโรงเรียน เป็นเพียงพื้นฐาน ที่เรานำมาศึกษาต่อด้วยตนเองได้

 

และเวลาหลังจากการเรียนในโรงเรียนนั้นย าวมากเป็นหลายสิบปี

ดังนั้น ความรู้ส่วนใหญ่จึงควรเกิดขึ้นหลังจากที่เราเรียนจบจากโรงเรียน

โดยนัยของข้อนี้คนร วยจึงน่าจะมีนิสัยรักการอ่ าน หรือการหาความรู้ต่อไปเรื่อย ๆ

 

ในขณะที่คนชั้น กลางนั้นพอเรียนจบ ก็มักจะไม่สนใจอ่ านหนังสือหรือหาความรู้ใหม่ ๆ

และความรู้ที่ผมคิดว่าคนจนและคนชั้นกลางพลาดไป เพราะไม่มีการสอนในโรงเรียน

ก็คือความรู้ทางด้านการเ งินที่คนร วยมักจะศึกษาต่อ เพราะเห็นถึงความสำคัญ และอาจนำไปสู่ความมั่งคั่งได้

 

7. คนร วย มีแหล่งรายได้หลากหลาย

คนจนและคนชั้นกลาง มีเพียง หนึ่งหรือสองแหล่ง

ข้อนี้ก็เช่นกัน ผมเองไม่แน่ใจว่าคนร วยมีรายได้จาก หลายแหล่ง เพราะร วยแล้วจึงไปลงทุนในทรัพย์สิน

 

หลาย ๆ อย่ าง หรือมีทรัพย์สินหลายอย่ างจึงทำให้ร วย แต่ที่ผมเห็นชัดเจนก็คือ

คนชั้นกลางนั้นมักไม่ลงทุนในทรัพย์ สินที่มีความเ สี่ยง ทำให้รายได้มักจะมาจากเงิ นเดือนเป็นหลัก

 

8. คนร วยเชื่อว่าพวกเขาจะต้องใจบุญสุนทาน

คนจนและคนชั้นกลางคิดว่า พวกเขาไม่มีปัญญาที่ จะทำบุญ ข้อนี้ผมคงไม่มีความเห็นอะไร

ส่วนหนึ่งผมเองก็ไม่แน่ใจ เนื่องจากเรื่องนี้เป็นเรื่องของแต่ละคนที่ไม่ค่อยบอกหรือรู้กัน

ยกเว้นกรณีที่เป็นการบริจาคให ญ่ ๆ อย่ างกรณีของบัฟเฟตต์หรือบิ ลเกตส์

 

(ความเห็นของแอดมิน : สำหรับเมืองไทย แอดคิดว่าคนส่วนใหญ่เป็นคนใจบุญนะ

“มีน้อยทำน้อย มีมากทำมาก” เพราะเราถูกปลูกฝังให้รู้จักทำบุญมาหลายชั่ วอายุคนแล้ว

จึงไม่เกี่ยวกับความร วยความจนหรอกครับ เป็นนิสัยส่วนบุคคลล้วน ๆ)

 

9. คนร วย ชอบตั้งคำถามที่เป็นบวก แ ละสร้างกำลังใจ

คนจนและคนชั้นกลาง ชอบตั้งคำถามที่เป็นลบ และบั่ นทอนกำลัง ใจ

คนร วยมักจะคิดว่า ฉันจะสร้างรายได้เป็นเท่าตัวในปีนี้ได้อย่ างไร ?

ในวิกฤตค รั้งนี้มีโอกาสอะไรซ่อนอยู่บ้าง ? ฯลฯ ในขณะที่คนจนและคนชั้นกลางมักจะคิดว่า

 

ทำไมเรื่องแ ย่ ๆ ถึงต้องมาเกิดกับฉันด้วย, โอกาสของคนเราไม่เท่ากัน เป็นเพราะฉันเกิดมาจน ฯลฯ

และนั่นก็คือความแต กต่าง 10 ข้อ ระหว่างคนรว ย คนจน และคนชั้นกลาง ที่มีคนตั้งข้อสังเกตไว้

ซึ่งผมเชื่อว่าส่วนใหญ่ น่าจะเป็นจริงแน่นอน คนร วยบางคนก็มีคุณสมบัติที่เป็นแบบคนชั้นกลาง

 

และคนชั้นกลางจำนวนมากก็มีนิสัยแบบคนร วย แต่ถ้าเราอย ากร วย

ผมคิดว่าการยึดนิสัยแบบคนร วย น่าจะทำให้เรามีโอกาสมากกว่า

 

10. คนร วย เน้นการเพิ่มขึ้นของความมั่งคั่ง

คนจนและคนชั้นกลาง เน้นการเพิ่มของเงิ นเดือน

เป้าหมายของคนร วยนั้นอยู่ที่ว่า ตนเองมีความมั่งคั่งเพิ่มขึ้นมากน้อยแค่ไหน โดยมองที่ภาพรวม

ดังนั้น ถ้าเขามีหุ้นอยู่ การที่หุ้นมีมูลค่าเพิ่มขึ้น เขาก็มีความมั่งคั่งเพิ่มขึ้น โดยที่เขาไม่ต้องเ สียภาษี

 

แต่คนชั้นกลางพย าย ามทำงานเพื่อให้มีเงิ นเดือนสูงขึ้น แต่เขาอาจจะลืมไปว่า เขาจะต้องเ สียภาษีเพิ่มขึ้นด้วย

สรุปก็คือ คนร วยเน้นการลงทุนใช้เงิ นทำงานแทนตนเอง คนชั้นกลางเน้นการใช้แรงงานของตนเอง

 

ขอบคุณที่มา : stand-smiling

Load More In บทความ
Comments are closed.

Check Also

ลักษณะผู้ชาย แ ม ง ด า ที่หวัง จะเกาะ ผู้หญิงกิน

1. เขามักจะบอกคุณอยู่เสมอ ว่าแม่เขาอย ากได้อะไร เขามักจ … …