เวลาช่างผ่ านไป รวดเร็วเหลือเกิน เมื่อมองย้อนกลับไป มีหลายเหตุการณ์ราว กับเพิ่งจะผ่ านพ้น เมื่อวันวาน…?
ธนินทร์เจียรวนนท์ ที่ปัจจุบัน อายุของเขา เข้าสู่วัย 7 8 ปี แล้วและ “เจี่ยเอ็กชอ”
คุณพ่อของเขาชาวจีน โพ้นทะเลจากเมือ งแต้จิ๋วหอบเอาเ สื่อผืนหมอนใบ
และกระสอบเมล็ดพันธุ์ผักถุงใหญ่
รอนแรมมาจน ถึงเมือง “หมั่งก๊ก” หรือบางกอกแล้ว
เปิดร้านจำหน่า ยเมล็ดพันธุ์ชื่อ “เจียไต๋จึง”
ซึ่งเป็นภาษา แต้จิ๋วแต่ถ้าเป็นภาษาจีนกลาง จะอ่ านว่า “เจิ้งต้า”
หมายถึงความซื่อสัตย์ ยุติธรรมเที่ยงตรง
ซึ่งกลายมาเป็นฐานราก ธุรกิจของ “เครือเจริญ โภคภัณฑ์”
จนทุ กวันนี้ เจี่ยเอ็กชอนักพัฒนา และปรับปรุงสายพันธุ์ตัวยง
เมื่อมีสวนผักทั้ งที่เมืองแต้จิ๋ว และเมืองเรา ก็คัดเลือกสายพันธุ์ที่ดี
จากสวนผัก ทั้ง 2 แห่ง มาขย ายผลต่อ
ทำให้นึกถึง สุภาษิต โบราณที่กล่าวถึง ความสำคัญของการ
อ่ านตำราหมื่นเล่ม กับการเดินทางไกล หมื่นลี้
เพื่ออธิบายว่าความรู้ ทั้งจากตำรา และประสบ การณ์ล้วนสำคัญ
แต่สำหรับเจี่ยเอ็ก ชอผู้มีโอกาส
เรียนรู้จากโลกกว้างนั้น การเรียนรู้ จากประสบ การณ์สำคัญ
ยิ่งกว่าตำรา อิทธิพลทาง ความคิดจากพ่อ
ในช่วงสงคร ามมหา เอเชียบูรพาเมื่อ ญี่ปุ่นขย ายแนว รบเข้ามาในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ กิจการเมล็ด พันธุ์เจียไต๋ พลอยได้รับ ผลกระทบ เจี่ยเอ็กชอ
จึงพาครอบครัวหนี เครื่องบิน ทิ้งระเ บิด จากถนนเย าวราช ไปอยู่ถนนต กถือ
เป็นบริเวณชานเมืองชีวิต ในท้องนาท้องไร่ กับเป็ดไก่ ทำให้ธนินท์ ซึ่งขณะนั้นมีอายุ 3 ขวบ
เกิดความรู้สึกผูกพัน ถึงขั้นที่ว่านำเงิ น แต๊ะเอี๊ยไป ซื้อไก่ชน
ตั้งแต่อายุ 9 ขวบ เพราะหลงใหล ในความสง่างาม แข็งแรง บึกบึนของมัน
และอาจเป็นเพราะชะตาฟ้าลิขิต ให้รู้สึกผูกพัน กับสัตว์ ปีกแต่วัยเย าว์
วันหนึ่งกิจการเมล็ดพันธุ์ ซึ่ง เปลี่ยนชื่อมา เป็น “เจริญโภคภัณฑ์” ซี พี
ขย ายมาทำอาหารสัตว์ จนลงตัวที่ธุรกิจเลี้ยงไก่ ธนินท์ได้รับ
มอบหมายให้เป็นทัพหน้าคอยประคบ ประหงม กิจการที่ เกิดขึ้นใหม่
โดยแนวคิดสำคัญ ของธุรกิจใหม่นี้ คือ “ทำอาหารสัตว์
หากไม่เลี้ยงสัตว์ให้ดู ใครจะเชื่อถือ อาหารสัตว์ที่ ทำขึ้นมา”
และในยุคนั้น เนื้ อไก่เป็นของดี มีราคาคนส่วนใหญ่จึงได้แต่
กินโปรตีนจากไข่ เป็นของดีราคาถูก ยกประสบการณ์
แต่ละครั้งเป็นครูเสมอมา สาเหตุหลัก ที่ทำให้ราคาไก่ เมื่อกว่า40ปีที่แล้วแพง
เป็นเพราะต้นทุนสูง มีข้อจำกัดยิบย่อย เต็มไปหมด ตั้งแต่ปริมาณไก่ ที่เลี้ยงไป
จนถึงค่าใช้จ่ายยิบย่อยต่าง ๆ นานา ดังนั้น ธนินท์จึง เริ่มศึกษา วิ ธีการว่าต้องทำอย่ างไร
ไก่จึงจะไม่กลายเป็น อาหารเกินเอื้อม คำตอบที่ได้มี
เพียงการใช้เทคโนโลยี ระดับสูงแต่เวลานั้น การเลี้ยงไก่ อยู่ในความควบคุมดู
แลของเกษตรกร ยังไม่ได้ศึกษา เทคโนโลยีใหม่
ทาง ซี พี จึ งตัดสินใจ นำเทคโนโลยี จากสหรัฐอเมริกา โดยบริษัทอาร์
เบอร์เอเคอร์ส A r b o r A c r e sม าวางรากฐาน ธุรกิจการเลี้ยงไก่ สมัยใหม่
ในประเทศ ผลที่ได้คือสามารถ เพิ่มผลิตผลได้ 100 เท่า
จากการเลี้ยงไก่ แบบเดิมๆ 1 คนเลี้ยงได้ 100 ตัว เปลี่ยนประวัติศาสตร์หน้าใหม่
เป็น 1 คนเลี้ยงได้ 10,000 ตัวและในยุค 4 G นี้เ กษตรกร 1 คนสามารถเลี้ยงไก่
ได้มากถึง 170,000 ตัว หรือคิดเป็น 17 เท่า ของยุคก่อน
หลังจากความสำเร็จ ในกิจการเลี้ยงไก่ ธนินท์กับพี่ ๆ น้อง ๆ ก็เริ่มขย ายการลงทุนออกไป
ทั้งแนวกว้างกระจายการลงทุนไป ในหลายประเทศ บนพื้นฐาน
ความคิดที่ว่า ต้องส่งเสริมการลงทุนในต่างแดน ของนักธุรกิจเพื่อ ประกาศให้ต่างชาติ
รู้ว่าคนที่มี ความรู้ ความสามารถ ไม่แพ้ชาติใดในโลก
ธรรมชาติของนักธุรกิจที่ ประสบความสำเร็จ ทุ กคนรู้ดีว่า การทำธุรกิจ ย่อมมีผิ ดพลาด
ในมุมของธนินท์ มองว่าความผิ ดพลาด คือค่าเล่าเรียน ถ้าผิ ดพลาด 30 เปอร์ เซนต์สำเร็จ 70 เปอร์เซนต์
ให้ถือว่า 30เ ปอร์เซนต์เ ป็นค่าเล่าเรีย นเพื่อให้ได้ เรียนรู้ข้อผิ ดพลาด
ธนินท์เรียนรู้ จากข้อผิ ดพลาด นับแต่เริ่มต้นทำงาน เช่นครั้งไปบุกเบิก ตลาดฮ่องกง
ในช่วงที่มีปัญหาข าด แคลนอาหาร เนื้ อสัตว์ ทั้งไก่ และห มู จนต้องนำ เข้าจากประเทศ
ธนินท์มีแนวคิดแหวกแนว กว่าเจ้าอื่นๆ นั่นคือเช่า เหมาเครื่องบิน
เพื่อขนไก่เป็น ๆ ไปส่งให้ต่างประเทศ
ซึ่งพี่ๆ ได้มอบหน้าที่ให้ธนินท์ เป็นผู้ควบคุม การขนส่งครั้งนี้ บทเรียนล้ำค่าที่ธนินท์ได้รับ
โดยไม่คาดคิดเกิดขึ้น เมื่อกัปตันเห็นว่า ผู้โดยส ารของเที่ยวบินนี้เป็น ไก่
จึงงดบริการเสิร์ฟน้ำ และอาหาร ปิดแอร์ในห้องผู้โดยส ารแล้วจัด ให้ธนินท์มานั่งด้านหน้า
ร่วมกับนักบิน ทำให้ไก่ข าด อากาศและค่อยๆ ต า ย ไปทีละตัว เมื่อเห็นเช่นนั้น เขาจึงได้ขอ
ให้นักบินผู้ช่วยออกมา ช่วยเปิดแอร์ให้ไก่ แต่ก็ไม่สามารถ ช่วยชีวิตไก่ได้หมด ไก่ ต า ย ไปกว่าครึ่ง
เหตุการณ์ครั้งนั้น ส่งผลให้ธนินท์เข้าใจ ถึงคำว่าข าดทุน ตั้งแต่ยัง ไม่ได้แลนดิ้ง
เป็นบทเรียนที่มีผลต่อก้าว ย่ างของซีพี จนถึงวันนี้ และอีกครั้ง ที่ธนินท์ได้รับมอบงานสำคัญ
คือการรับผิดชอบ ขนห มูส่งต่างประเทศ ทางเรือที่ประสบปัญหา ห มู ต า ย ทุ กครั้ง ที่เรือเข้าฝั่ง
พี่ชายจึงส่งธนินท์ ไปทดลอง แก้ปัญหาโดย ให้ข้อเสนอว่า ถ้ามีห มู ต า ย น้ อ ย ลง 1 ตัว
เขาจะได้เงิ นพิเศษ 100 บาท ธนินท์ทำการบ้าน โดยพย าย ามสังเกต หาสาเหตุจนพบว่า
การ ต า ย ของห มูเชื่อมโยง กับการโคลงเคลง ของเรือตาม ทิศทางลม แต่ละฤดู เขาจึงทดลอง
จัดวางตำแหน่งใหม่ โดยนำห มูไปไว้ ตรงกลางเรือใ นช่วงหน้าร้อนและ ย้ ายห มูไปท้ายเรือ
ในช่วงหน้าหนาวหลัง จากนั้นห มูก็ ต า ย น้อยลง พัฒนาตน ก้าวสู่ในโลกยุค4.0
ในทัศนะของธนินท์ คนเราเก่งเรื่อง ภาคเกษตรและมีโอกาส มากจากผลผลิตเกษตรด้าน อาหารมาตลอด
แม้กระทั่งอาหาร ก็ได้สร้างชื่อเ สียง แ ก่ประเทศมานานแล้ว แต่สิ่งที่น่าสนใจ คือใน 2 ปี ที่ผ่ านมา
สถาบันวิจัยของมหาวิทย าลัย ได้สนใจร่วมพัฒนา ไบโอเทคโนโลยี อาหารเพื่อ สุ ขภาพแ ก่ผู้สูงอายุ
กับซีพีเป็นบริษัทแรก ของโลกที่อยู่นอกเหนือกลุ่มย าที่ เป็นโครงการงานวิจัย
พัฒนาหลักของ ฮ า ร์ ว า ร์ ด และในเร็ว ๆ นี้อ าห า ร สุ ขภาพ ที่มหาวิทย าลัยฮาร์วาร์ด
ร่วมพัฒนากับ ซี พีจะตอบโจทย์สังคม ผู้สูงวัยของประเทศ เพื่อให้ผู้สูงวัย
มีโอกาสใช้ชีวิตได้อย่ าง มีความสุขกับสุ ขภาพที่ดีขึ้น
และมีอายุยืนย าวกว่าที่ผ่ านมา โลกในยุค 4.0 นี้ ผลผลิตด้านอุตสาหกร รมทุ กสาขา
ต้องพึ่งพาเ ทคโนโลยีชั้นสูง โดยภายใต้สังคม ยุคข้อมูลข่าวส ารที่ดี
และเร็วขึ้นเรื่อย ๆการพัฒนาทรัพย ากรบุคคล และนวัต ก รรมใหม่ ๆ
ทางเทคโนโลยี จำเป็นต้องก้าวไปด้วย
กันเพื่อเป็นอาวุธ ในการแข่งขัน กับโลกภายนอก เพราะฉะนั้น
บทสรุปบนเส้นทางสู่ ความสำเร็จของธนินท์คือ “เก่งแล้วไม่ขยัน
จะไม่มีวันเก่งจริง” เพราะการทำงาน หรือประสบการณ์นั้น
หาไม่ได้จากห้องเรียน ต่อให้มีความรู้ความจำเก็บไว้ ในคอมพิวเตอร์
แต่เมื่อไม่ลงมือ ปฏิบัติไม่สั่งสมประสบการณ์ ก็ไม่สามารถคว้าค วามสำเร็จได้
ผู้ประสบความสำเร็จระดับโลก ไม่ว่าจะเป็น บิ ล เ ก ต ต์ ห รื อ แ จ๊ ค ห ม่ า
ล้ วนประสบความสำเร็จจ ากประสบการณ์ และการปฏิบัติจริง ทั้งสิ้น