1. “ลงมือทำ”
หลังจากพูดจบแล้ว คนที่ “เรียนรู้เร็ว” ก็ “ลงมือทำ” ในวันเดียวกัน
เฉกเช่นการเรียนภาษา หากออกจากห้องเรียนแล้ว
ไม่มีทางที่เราจะใช้ภาษาใหม่ได้เลยถ้าเราไม่พูด ไม่ว่าจะพูดผิดหรือถูกก็ตาม
2. รู้ว่าควร “เตรียมพร้อม” สำหรับอนาคตอย่ างไร?
อาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อสำหรับคน “เรียนรู้เร็ว” ไปแล้วก็ได้…
เพราะเขาสามารถที่จะประยุกต์สถานการณ์ต่าง ๆ
กับแนวโน้มในอนาคตได้โดยสามารถที่จะรู้ได้ว่าจะใช้เรื่องไหน
จัดการกับอะไรในอนาคต
3. รู้ว่าตอนไหน…ควรหยุด!
ถ้าบางอย่ างไปไม่ได้เป็นไปตามแผนต้องรู้จักถอย…คน “เรียนรู้เร็ว”
พร้อมที่จะหยุดและไม่เดินหน้าต่อ เพราะเข้าใจกฎการลดลง
ของผลประโยชน์ส่วนเพิ่ม(law of diminishing returns)
หมายถึงทำเพิ่มขึ้นแต่ได้ output ลดลงและจะ focus เฉพาะ
ผลตอบแทนจากการลงทุนนั้น ๆ
4. คิดบวก
คน “เรียนรู้เร็ว” ไม่แสดงทัศนคติเชิงลบออกมาอย่ างแน่นอน
เพราะเขารู้ว่าอะไรสำคัญกับเขาบ้าง การมองโลกในแง่บวก
จะทำให้สามารถรับมือกับสิ่งที่ไม่คาดฝันและความท้าทายต่าง ๆ
ได้อย่ างดี
5. อธิบายให้ “เด็ กเข้าใจ”
หลังจากสืบเสาะค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งด้วยตัวเองแล้ว
ต้องสามารถที่จะสื่อส ารความคิดและความรู้ในเรื่องนั้น ๆ
ออกมาอย่ างเข้าใจง่ายกระทั่งเด็ กก็รู้เรื่อง
6. ใช้ “Pareto principle”
กฎของพาเรโต ก็คือ 80:20 หมายถึงการทำผลลัพธ์ได้ 80% จากการลงมือ
ทำเพียง 20%คนที่ “เรียนรู้เร็ว” ใช้วิ ธีนี้เป็นพื้นฐานหลักในการทำงาน
เพื่อ focus สิ่งที่ทำโดยเฉพาะงานที่ท้าทาย ที่สำคัญคือคนเหล่านี้ไม่ทำทุ ก
อย่ างที่ขวางหน้าแต่จะเลือกทำสิ่งที่สำคัญที่สุดเป็นลำดับแรก
7. ไม่กลัวที่จะบอกว่า “ไม่รู้”
คนที่ “เรียนรู้เร็ว” ยอมรับว่าเขาไม่ได้รู้ทุ กเรื่องบนโลกใบนี้ เป็นคนเปิดใจเสมอ
และเต็มใจที่จะตั้งคำถามเพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการ
หรือสิ่งที่อย ากรู้เพิ่มขึ้นขณะที่บางคนไม่กล้าหรือลังเลที่จะแสดง
ความไม่รู้ของตัวเองออกมา
8. ทำทุ กอย่ างให้ “ง่าย”
เป็นที่รู้กันว่าปัญหาที่ย าก…ต้องไม่แก้ปัญหาด้วยวิ ธีการที่ย ากกว่าเดิม
Thomas Edison, Henry Ford หรือแม้แต่ Steve Jobs ก็พูดเสมอว่า
เรื่องที่ท้าทายทั้งหลายต้องจัดการด้วยวิ ธีการง่าย ๆ
9. สามารถ “เห็นเป็นภาพ”
เมื่อต้องจัดการกับปัญหา คนที่ “เรียนรู้เร็ว” จะมองเห็นวิ ธีการในหลายมิติ
และเลือกวิ ธีการที่ดีที่สุดจาก sense ทั้งหมดที่มี
และใช้พลังใจเนี่ยแหละในการหากลยุทธ์ที่จะทำ
และเรียนรู้จากการกระทำนั้น ๆ
10. “ช่างเลือก”
เราไม่มีทางจัดการกับปัญหาโดยปราศจาก “วิ ธีการ” หรือ “กลยุทธ์”
ในการแก้ปัญหาได้ สิ่งสำคัญก็คือใช้เวลาในการ “เลือก”
วิ ธีการที่คุ้มค่ากับผลลัพธ์มากที่สุด
ขอบคุณที่มา : jingjai999