1. นำไปลงทุน
การลงทุนที่ดีคือ การทำให้เ งินที่นอนอยู่นิ่ง ๆ ไปทำให้งอกเงย ซึ่งเราสามารถนำเ งิน
ไปลงทุนได้ตามรูปแบบที่สนใจและเหมาะสมกับรายรับรายจ่าย
อย่ างไรก็ตามทุ กการลงทุนมีความเสี่ ยงจึงจำเป็นอย่ างยิ่งที่จะต้องศึกษาวิ ธีการ
ลงทุนให้เข้าใจเป็นอย่ างดี และเลือกปรึกษาคนที่ไว้ใจได้เท่านั้น
2. รั กษาสถานภาพทางการเ งิน
การบริหารเ งินจะต้องมีวินัยและปฏิบัติต่อเนื่องอย่ างเคร่งครัด ถ้าเริ่มทำได้เป็นระบบอยู่ตัวแล้ว
ก็ต้องรั กษาสถานภาพทางการเ งินไว้ให้ได้ตามมาตรฐานในตอนแรกด้วย
ทั้งนี้ อย่ าลืมแผนสำรองสำหรับปรับการใช้เงิ นให้ยืดหยุ่นตามสถานการณ์ด้วย
เพียงเท่านี้สภาพการเงิ นก็จะคล่องตัว และมีความมั่นคงในระยะย าว
3. บริหารการชำระห นี้
ห นี้ที่ว่าคือ ค่าบ้าน ค่ารถ ค่าบัตรเครดิต และอีกส ารพัดห นี้ การวางแผนจ่ายห นี้
จะช่วยให้การเ งินไม่ข าดสภาพคล่อง เช่น ชำระห นี้ให้ตรงเวลา
เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเสี ยด อกเบี้ยและค่าตามทวงห นี้ ชำระห นี้รายเดือนให้ได้จำนวน
เ งินขั้นต่ำเป็นอย่ างน้อยถ้ายังมีเงิ นเหลือก็โปะห นี้ให้มากหน่อย เพื่อลดเงิ นต้น
หรือถ้าฝืดเคืองจริง ๆควรเลือกจ่ายห นี้ที่ มี ด อกเบี้ยสูงก่อน เพื่อตัด
วงจรด อกเบี้ยบานปลาย
4. ออมให้เป็นนิสัย
ไม่จำเป็นต้องอดทุ กความสุข หมดสนุกกับทุ กอย่ าง
เพราะเราวางแผนเองได้ว่าจะออมเท่าไหร่ จะใช้วิ ธีออมทีละนิดอย่ างสม่ำเสมอ
หรือจะเข้มงวดตามสูตรออมขั้นต่ำร้อยละ 10 ของรายรับก็ได้ แต่อย่ าละเลยการ
ออมเ งินเพราะเงิ นส่วนนี้นี่แหละ ที่จะช่วยให้อยู่รอดในย ามคับขัน
รวมถึงเป็นเงิ นสำหรับใช้จ่ายในอนาคตตามหลักแล้ว เราควรมีเงิ นสำรองไว้ใช้ ในกรณี
ฉุ กเฉินอย่ างน้อย 3 เดือน เมื่อเกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น
ก็ยังมีเงิ นใช้ และหากบริษัทมีสวัสดิการ ให้พนักงานเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพด้วยก็ยิ่งดี
ซึ่งจะช่วยให้การออมเ งินของเรานั้นง่ายขึ้น หากเกิดกรณีที่จำเป็นต้องใช้เ งิน
หรือเกษียณงานไปแล้ว ก็มั่นใจได้ว่ามีเงิ นก้อนให้ใช้แน่นอน
5. บันทึกรายรับรายจ่าย
การควบคุมการใช้เงิ นที่ดีที่สุดก็คือบันทึกการใช้เงิ นของตนเอง
ซึ่งประโยชน์จากการเขียนรายรับรายจ่ายทุ กวัน
จะทำให้เรารู้รายละเอียดการใช้เงิ นในแต่ละวัน ว่ามีเงิ นในกระเป๋าอยู่เท่าไหร่
หยิบใช้ได้มากน้อยแค่ไหน เมื่อใช้จ่ายไปแล้วเหลือเท่าไหร่
อีกทั้งยังทำให้เราเห็นรายจ่ายส่วนเกินได้ง่าย จึงช่วยให้ตัดค่าใช้จ่าย
ที่เกินความจำเป็นทิ้งได้ง่ายขึ้นตามไปด้วย
6. ใช้จ่ายอย่ างรู้ตัว
ถ้าของมันต้องมี คงไม่ดีถ้าไม่ซื้อความอย ากได้ อย ากมี อย ากกิน อย าก ซื้ อ
ที่เกินความจำเป็นในชีวิตเรานั้นมีกันทุ กคน ดังนั้น
เราสามารถซื้อทุ กอย่ างที่ต้องการได้ตราบเท่าที่มีเงิ นจ่าย แต่ต้องยึดกฎเหล็ก
ว่าจะต้องไม่สร้างห นี้และไม่ไปดึงเงิ นก้อนอื่นที่แบ่งไว้แล้วก่อนหน้านี้มาใช้
7. แบ่งเงิ นทันที
ทันทีที่เ งินออก สิ่งแรกที่ต้องทำคือจัดสรรเงิ นให้เป็นก้อน ๆ ก้อนหนึ่งไว้ใช้จ่ายทั่ว
ไปในชีวิตประจำวันก้อนหนึ่งใช้ห นี้ อีกก้อนหนึ่งไว้ให้รางวัลตัวเอง
และต้องไม่ลืมแบ่งอีกก้อนเป็นเ งินออมไว้เผื่ออนาคตด้วย ซึ่งการจัดสรรเงิ นนี้
สามารถประยุกต์ได้ตามรายรับรายจ่ายของแต่ละคน
ขอบคุณที่มา : fahhsai