ทุ ก ข์ ต ก อยู่ที่คนเกลียด ก ร ร ม ต ก อยู่ที่คนเคียดแค้น ให้ อ ภั ย แต่ไม่สุงสิงด้วย
ทุ ก ข์ ต ก อยู่ที่คนเกลียด ก ร ร ม ต ก อยู่ที่คนเคียดแค้น
คนที่ไม่ ทุ ก ข์ ไม่มี ก ร ร ม… คือ คนที่ไม่เกลียด ไม่เคียดแค้นใคร
ใครให้ อ ภั ย ก่อน ก็มีความสุขในชีวิต ก่อน
ให้ อ ภั ย แต่ไม่ให้โอกาส ให้ อ ภั ย แต่ไม่กลับไปคบ
คุณต้องเข้าใจก่อนว่า.. “ให้ อ ภั ย ” กับ “ให้โอกาส” มันคนละส่วนกัน
การให้ อ ภั ย คือ การยก โ ท ษ ทางจิตใจในสิ่งผิดที่เขาทำต่อเรา
ทำให้ความรู้สึกของความโกรธแค้นของเราบรรเทา
เรารู้สึกว่าเราให้ อ ภั ย เขาได้ เราจึงให้ อ ภั ย
ให้ อ ภั ย โดยไม่ขึ้นกับว่าคนที่ทำผิดนั้นจะเป็น โ ท ษ อ ย่ า ง ไร
จะ เ สี ย ใจ จะชดใช้ จะรับ โ ท ษ หรือเปล่า เราไม่ต้องไปสน
แต่เราก็ให้ อ ภั ย เขาได้ เพื่อปลดปล่อยความโกรธ ออกจากใจเรา
บางครั้งเราไม่ให้ อ ภั ย บางคน เพราะ… คิดว่าเราทำไม่ได้
หรือไม่เราก็รู้สึกว่า เราไม่ อ ย า ก ให้ อ ภั ย เราจะเก็บความโกรธแค้นนี้ไว้
เพราะเขาไม่สมควรได้รับการให้ อ ภั ย แต่ในขณะเดียวกันนั้น
เรากลับไม่รู้ตัวว่าจิตใจที่โกรธแค้นนั้นมาพร้อมกับความ ทุ ก ข์
และมันทำ ร้ า ย เราเสมอ คนที่ทำผิดกับเรา ไม่ได้มารู้สึกด้วยกับเราเลย
การให้ อ ภั ย ก็ไม่ได้หมายความว่า เราจะต้องกลับไปดีกับเขา
แต่เป็นการทำให้เราพ้นจากจิตใจที่เคียดแค้นแล ะเ จ็ บ ป ว ด ต่างหาก
เคยได้ยินไหม.. “ให้ อ ภั ย ” แต่.. “ไม่สุงสิงด้วย”
“ยก โ ท ษ ให้” แต่… “ไม่กลับไปคบ”
ให้ อ ภั ย เขา เราสุข โกรธเขา เกลียดเขา เราก็ ทุ ก ข์ เอง
ให้ อ ภั ย มันช่วยปลดปล่อยเราจาก.. ความ ทุ ก ข์ และ ความแค้น
คนที่ทำได้คือคนที่ชนะไม่ใช่พ่ายแพ้
จริงๆ แล้วการให้ อ ภั ย กับการให้โอกาส
เป็นคนละส่วนกัน เราให้ อ ภั ย แต่ไม่ให้โอกาสได้
เพราะการให้ อ ภั ย คือการยก โ ท ษ ทางจิตใจ
ที่ปลดปล่อยตัวเราจากการถูกทำ ร้ า ย ทางใจ
แต่การให้โอกาสต้องมาพร้อมกับการพิสูจน์ตัวเองของคนทำผิด
ถ้าคนทำผิดไม่ได้กลับใจ ไม่ได้ เ สี ย ใจ
เราไม่จำเป็นต้องให้โอกาสเสมอไป
และบางครั้งเขายังต้องรับ โ ท ษ จากความผิดนั้น
แต่ส่วนของเรานั้น แค่ยก โ ท ษ ให้เขา แล้วเดินหนีออกมา
เอาความสุขของเรากลับคืนมาใหม่เป็นของเรา
การให้ อ ภั ย ทำให้เราได้ชีวิต และ ความสุขของเรากลับมา