คนโ ง่เอาใจไว้ที่ปาก คนฉลาดเอาปากไว้ที่ใจ
คนฉลาดเอาปากไว้ที่ใจจะปากหนัก (ไม่ค่อยจะพูดมาก)
คนโ ง่เอาใจไว้ที่ปาก ใจมันไม่อยู่ที่ตัวใจมันไปอยู่ที่ปาก มันจึงพูดไปวันยังค่ำ
คนฉลาดเอาปากไว้ที่ใจ ความสำคัญของตัวเองที่จะเข้าใจกันไว้
“อัตตัญญูตา” คือ ความรู้จักตน และก็ประพฤติปฏิบัติให้สมกับฐานะของตัว
ว่าฐานะของเราเป็นอย่ างไร?
และวัด บ้าน โรงเรียน สถานที่ราชการ เราควรวางตัว ทำตัวอย่ างไร มันมีคนพร้อมหมด
เช่น พร ะเณร ก็มี ชาวบ้าน นักเรียนก็มี ทหารตำรวจ นายสิบนายพัน ปริญญาตรี โท เอก ก็มี
นี่เป็นวิทยฐานะและใครก็ไม่ได้ถือตัวว่าเรามีวิทยฐานะอย่ างไร อ้นนี้ขอฝากไว้เป็นข้อคิด
อยู่พอเหมาะพอดีมีศีลาจารวัตรอันงดงาม สงบเสงี่ยมเจี่ยมตัว การพูดจาปราศัยก็พูดเฉพาะที่จะเป็น
ที่ไม่จำเป็นก็ไม่ต้องพูด การที่จะพูดจาอะไรจะต้องนึกคิดพิจารณาเสี ยก่อน ใช้สติสัมปชัญญะไตรตรอง
ให้รอบคอบเ สียก่อนว่าสมควรหรือไม่ อย่ างนี้เป็นการดี จะทำอะไร อย่ าให้ข าดสติสัมปชัญญะ
อย่ าทำอะไรเหมือนคนตาบ อด อย่ าให้เข้าทำนองที่กล่าวว่า
“คนโ ง่เอาใจไว้ที่ปาก” คือ คิดอะไรก็ไหลออกปากทันที จะไม่ดี
ส่วน “คนฉลาดเขาเอาปากไว้ที่ใจ” คือ เวลาเขาจะพูด เขาจะคิดไตร่ตรอง ย้อนแล้วย้อนอีกว่า
จะมีผลดี ผลเสี ย และมีผลกระทบทั้งส่วนตนเองและคนรอบข้าง อย่ างไร หรือไม่ ?
ซึ่งเขาจะกลั่นกรองเสี ยก่อนจึงพูดออกมา อันนี้ให้จำใส่ใจเอาไว้ นี้คือ
“อัตตัญญุตา” คือการรู้จักวางตนหรือทำตนอย่ างไร?
นอกจากรู้จักตน ตั้งตนให้อยู่พอเหมาะพอดี แล้วก็จงพย าย ามพัฒนาตนเองให้เป็นที่พึ่งของตัวเองได้ด้วย
อย่ าได้คอยแต่จะพึ่งพาอาศัยคนอื่น ข้อสำคัญที่สุดคือ
การรู้จักตนเอง ควรที่จะได้นึกเน้นให้มันลึกเข้าไป พย าย ามฝึกหัดดัดนิสัยของตัวเอง พย าย าม
ปกครองตนเองให้มันได้ ให้ตนเองเป็นที่พึ่งของตนเองได้จริง ๆ
สุภาษิตท้ายบท
“โมกโข กัลย าณิย า สาธุ แปลว่า
การเปล่ง/กล่าว วาจางาม ย่อมยังประโยชน์ให้สำเร็จ”
“มุตวา ตัปปติ ปาปิกัง แปลว่า
คนใดพูดวาจาชั่ ว ย่อมเดื อดร้อน”
ขอบคุณที่มา : tour-takja