วันนี้เรามีคำสอนดีๆจากแป๊ะ โ ร ง สี มาฝาก ทุ ก คน ใคร อ ย า ก ค้าขายดี ต้องจำไว้ให้ขึ้นใจ แล้วทำตามได้เลย
เคยได้ยินเรื่อง ขอนไม้กับ ท อ ง คำมั้ย? ถ้าให้เลือกระหว่าง “ขอนไม้” กับ “ท อ ง คำ” ทุ ก คนคงจะเลือก ท อ ง คำแน่นอน
เพราะขอนไม้ไม่มีค่าอะไรเลย แต่ ท อ ง คำนั้นมีค่า เป็นที่ต้องการของคน แต่ถ้าลื้อกำลังจะจมน้ำ กำลังตะเกียกตะกายขึ้นจากน้ำ
เชื่อว่าลื้อต้องการ “ขอนไม้” มากกว่า “ ท อ ง คำ” อ ย่ า ง แน่นอน ลูกค้าของลื้อก็เช่นกัน!! บางคนก็เป็นแค่ลูกค้ารายเล็ก ซื้อของด้วยทีละชิ้น สองชิ้น
บางคนเป็นลูกค้ารายใหญ่ ซื้อขายกันประจำทีละมากๆ แต่ถ้าวันหนึ่งลูกค้ารายใหญ่ ล้ ม ลง เหลือแค่ลูกค้ารายเล็กที่ยังอุดหนุนลื้อ
คนที่เป็นลูกค้ารายเล็กรายน้อยของลื้อนี่แหละ ที่ลื้อต้องการที่สุด… เวลาที่ต้องเจอกับวิกฤต ลูกค้ารายย่อยก็เหมือนกับขอนไม้ที่คอยช่วยให้ลื้อ ผ่ า น พ้นไปได้
เพราะฉะนั้น อ ย่ า มองข้ามความสำคัญของลูกค้าแต่ละแบบ ลูกค้า ทุ ก คนมีความหมายทั้งนั้น ไม่ควรตัดความสัมพันธ์เพียงเพราะเป็นลูกค้ารายเล็ก
คำสอนจากแป๊ะ โ ร ง สี ที่ อ ย า ก ให้จำขึ้นใจ
– ลื้อ อ ย่ า มัวแต่คิดว่า ร ว ย แล้ว แล้วใช้จ่าย เ งิ น แบบฟุ่มเฟือย เพราะในวันที่ ต ก อับ แค่ร้อยเดียวอาจมีค่ามากมาย
– ลื้อ อ ย่ า คิดว่าร่ า ง ก า ย จะแข็งแรง ไม่มีวัน ป่ ว ย ตอนอายุยังน้อย อะไรก็ทนได้ ทำงานไม่มีวันหยุด พอ แ ก่ ตัวมา ทำได้นิดเดียวก็เมื่อยไปหมด เหนื่อยง่าย และถ้า ป่ ว ย เมื่อไหร่ กำไรแค่ไหนก็ไม่คุ้ม
– ลื้อ อ ย่ า มองข้ามคนที่ด้อยกว่า อ ย่ า มองข้ามลูกค้ารายเล็ก เพราะวันหนึ่งเขาอาจจะกลายเป็นลูกค้ารายใหญ่ของเราก็ได้ อ ย่ า หลงตัวเองว่ายิ่งใหญ่ อยู่เหยือคนอื่น ต้องจำไว้ว่า คน ร ว ย หลายคนที่เราเห็น ไม่ได้ ร ว ย แต่ กำเนิด บางคนก็สร้างมาเองกับมือจากไม่มีอะไรเลย
– ต้นไม้ต้นเดียว ทำไม้ขีดไฟได้หลายก้าน แต่ไม้ขีดไฟแค่ก้านเดียว ก็สามารถ เ ผ า ป่าได้ทั้งผืนป่าเช่นกัน
– ลื้อดูนกสิ… ตอนที่มีชีวิตอยู่ มันจะกิน “ห น อ น” เป็นอาหาร แต่พอมันจากโลกไปแล้ว มันกลับถูก ” ห น อ น ” กินเป็นอาหาร ไม่มีใครใหญ่กว่าใครไปได้หรอก
– ลื้อ อ ย่ า หลงทะนง แล้วคิดว่าจะอยู่สูงได้ตลอดไป เพราะแม้แต่นกที่บินได้สูงที่สุดในโลก สุดท้ายก็ยังต้องลงมาแตะพื้นเพื่อพักผ่อน ดังนั้นจง อ ย่ า ไป ดู ถู ก ใครเลย
เจ้าจง อ ย่ า ประมาท… ชีวิตมีความไม่เที่ยงเป็น แ ก่ น แท้
สังขารไม่เลือกอายุ…. และ ไม่แยแสว่าเจ้าจะเป็นใคร
Cr. ฮ ว ง จุ้ ยเ ศ ร ษ ฐี