1. แยกไม่ออกว่า “จำเป็น” หรือ “ต้องการ”
วิ ธีการแยกง่ายที่สุดก็คือ ต้องรู้ว่าสิ่งไหนต้องมี (จำเป็น) ข าดไปแล้วจะใช้ชีวิตไม่ได้ อย่ างเช่น ปัจจัย 4
หรือสิ่งไหนมีก็ดีไม่มีก็ได้ (ต้องการ) ข าดไปแล้วยังใช้ชีวิตได้ แต่ถ้ามีแล้วชีวิตจะดีขึ้น
เช่น อาหารจานหรู เสื้อผ้าแบ รนด์เนม
หรือสิ่งไหนไม่จำเป็นต้องมี แต่ถ้าแยกไม่ได้และเอาอ ารมณ์เป็นที่ตั้ง
อาจเป็นเห ยื่อภาพลวงของ “ความจำเป็น” มันจะทำให้เรามีแต่จ่ายกับจ่าย ไม่มีที่สิ้นสุด
2. คิดว่า “เร็วเกินไปที่จะออมเ งิน”
ในวันที่เรายังตื่นตาตื่นใจกับสิ่งรอบตัว อันนู้นก็ใช่ อันนี้ก็อย ากได้ อันนี้ก็กำลังมองหา ภาพลวงของ “ความจำเป็น”
ผุดขึ้นมาตรงหน้า และทำให้เราเ สียทรัพย์อยู่เสมอ ทั้งที่สิ่งเหล่านั้นอาจเป็นแค่ “ความต้องการ” มีก็ดี ไม่มีก็ได้
เลิกผัดวันประกันพรุ่ง แล้วเริ่มออมเ งินเดี๋ยวนี้ จะสิบ ร้อย พัน หมื่น ก็ถือว่าเราได้เริ่มต้นแล้ว หลังจากนั้นสร้างวินัยให้กับตนเอง
ด้วยการออมต่อเนื่องสม่ำเสมอ แม้จะไม่อย ากออมก็ตาม เพราะวินัย คือการทำสิ่งที่ “ต้องทำ” แม้จะ “ไม่อย ากทำ” ก็ตาม
3. ใช้เ งินเพิ่มขึ้น
ไม่ผิดหรอกถ้าคิดว่า “อย ากมีชีวิตที่ดีขึ้น” แต่อย่ าลืมว่าชีวิตที่ดีขึ้น ไม่จำเป็นต้องมากับรายจ่ายที่มากขึ้นเพียงอย่ างเดียว
ลองใช้ชีวิตให้ง่ายขึ้น เลิกเป็นนักสะสม แค่นี้ก็ทำให้เรามีชีวิตที่ดีขึ้นได้ เพราะถ้าได้เงิ นเดือนเพิ่ม แล้วใช้จ่ายเพิ่ม (มากกว่าเงิ นเดือนที่เพิ่ม)
สุดท้ายอาจได้แค่ “อย าก” มีชีวิตที่ดีขึ้น เพราะพฤติกร รมมือเติบ
อาจก่อให้เกิดปัญหาตามมา โดยเฉพาะห นี้สินที่พอกพูนแบบไม่ทันตั้งตัว
4. ไม่เคยตั้ง “งบประมาณ” ในการใช้เ งิน
บริษัทก็ยังมีงบการเงิ น ทำโปรเจคยังต้องมีประมาณการณ์ค่าใช้จ่าย เรื่องการเ งินส่วนบุคคลก็เช่นกัน หลายคนไม่เคยตั้ง “งบประมาณ”
การใช้เงิ นเลย จะช้อปปิ้งปีใหม่ จะเที่ยว จะซื้อเสื้อผ้า ก็จัดเต็ม และสุดท้ายก็เกินความจำเป็น เกินกำลังทรัพย์ของตัวเอง
และกลายเป็น “ห นี้” ในท้ายที่สุด วิ ธีการที่ง่ายกว่าก็คือ “ตั้งงบประมาณ” การใช้เ งินทุ กครั้ง เช่น จะซื้อของวาเล นไทน์
ให้คนรักไม่เกินกี่บาท, จะไปเที่ยวทริปกลางปี งบประมาณรวมเท่าไหร่ หลังจากนั้นยึดมั่นกับสิ่งที่ตั้งไว้
ทำตามแผนไม่ใช้เกินงบ รับรองว่าเราจะตัดสิ่งที่ไม่จำเป็นออกไปได้อย่ างง่ายดาย
5. ไม่สนใจ “ห นี้”
น้อยคนนักที่จะ “ไม่มีห นี้” แต่คนมีห นี้จำนวนมากกลับให้ความสำคัญกับการ “ชำระห นี้” น้อยมาก หรือบางคนไม่ให้ความสำคัญ กับการจัดการห นี้เลย
และนั่นก็ย่อมทำให้เขาเหล่านั้นต กอยู่ในวังวนของ “ห นี้” อย่ างไม่มีทางหลุดพ้นได้ เพราะเมื่อได้เ งินมา ก็มัวแต่สนุกกับการใช้จ่าย
กระทั่งด อกเบี้ย (ห นี้) ทบต้นไปเรื่อย ๆ ในทางตรงกันข้าม คนที่อย ากร วยจะ “กลัวห นี้” มาก พวกเขาจึงให้ความสำคัญกับ “ห นี้”
เป็นอันดับแรก เมื่อมีรายได้เข้ามาก็จะรีบชำระห นี้ก่อนสิ่งอื่นใด จนกระทั่งเป็นไท ปลดระวางห นี้ได้สำเร็จ
6. ไม่สนใจ “อนาคต”
เมื่อเจอกับปัญหา หลายคนเลือกที่จะเดินหนี หันหลังให้หรือบ่ายเบี่ยงไปทำอย่ างอื่น และปัญหาก็ยังคงกองอยู่ตรงหน้าเหมือนเดิม
แถมอาจหนักขึ้นจนเข้าขั้นวิก ฤติได้ในอนาคต ในเรื่องของการเงิ นก็เช่นกัน หลายคนสนใจกับความสุขในวันนี้กินอิ่ม
ปาร์ตี้สนุก เที่ยวบ่อย ใช้ให้เต็มที่ ทั้งที่รู้ว่ายังไม่มีเงิ นเก็บสำหรับอนาคต ไม่มีเ งินสดสำหรับย ามฉุ กเฉิน
ไม่เคยวางแผนการเ งิน ไม่เคยแม้แต่จะลงมือทำ และปัญหาก็ยังคงเป็นปัญหาเช่นเคย คงดีกว่าไม่น้อย
ถ้าการตัดสินใจใช้เงิ นทุ กครั้ง เราได้ฉุ กคิดถึง “อนาคต” บ้าง บ้านผ่ อนหมดยัง ห นี้บัตรเคร ดิตจ่ายเต็มวงเ งินแล้วใช่มั้ย ?
เงิ นก้อนที่ตั้งใจเก็บตอนนี้ได้เท่าไหร่ เกษี ยณที่ว่าต้องใช้เ งินเยอะ เรามีแค่ไหนแล้ว ? หัดอดเปรี้ยวไว้กินหวานบ้าง
7. ไม่เคยจดเรื่อง “เ งิ น” ของตัวเอง
เข้าห้องประชุมก็จด นายสั่งงานก็จด ไปฟังสัมนาก็จด จดทุ กเรื่องที่ทำเพื่อคนอื่น แต่หลายคนไม่เคยแม้แต่จะจดเรื่อง “เ งิน” ของตัวเอง
ทั้งที่เป็นเรื่องที่ดีกับตัวเองแท้ ๆ เพียงเพราะคิดว่าเรารู้อยู่แล้วว่า รับ จ่าย ออม เท่าไหร่ จริงอยู่ที่เราอาจรู้ความเคลื่อน ไหวเงิ นที่เข้า – ออกในกระเป๋า
แต่นั่นอาจเป็นแค่ก้อนใหญ่ ๆ เท่านั้น (เงิ นเดือน – ห นี้บัตรเครดิต (รวม) – ห นี้บ้านต่อเดือน ฯลฯ) แต่รายจ่ายจิปาถะ กาแฟ ขนม เสื้อผ้า อุปกรณ์ต่าง ๆ
หรือแม้แต่ค่าใช้จ่ายปลีกย่อย ก่อนจะรวมเป็นห นี้บัตรเครดิต ก้อนใหญ่ หลายคนไม่เคยแม้แต่จะสนใจ
และนั่นก็เป็น “รูรั่ว” เล็ก ๆ แต่สร้างผลกระทบยิ่งใหญ่ต่อสถานะการเ งิน โดยที่เราไม่รู้ตัว
8. เป็นสาวกเทคโนโลยี
ถ้าใครเป็นแฟนพันธุ์แท้ เทคโนโลยีแล้วล่ะก็ จะรู้เลยว่าไม่มีวันหยุด สำหรับอุปกรณ์ต่าง ๆ ยิ่งเราวิ่งตามเท่าไหร่
เงิ นก็จะยิ่งไหลออกจาก กระเป๋ามากขึ้นเท่านั้น และนั่นก็ทำให้รายได้ที่มากขึ้น “ไม่เคยพอ” ต่อการตามเทรนด์เหล่านี้
ไม่ผิดถ้าจะซื้อ โทรศัพท์เครื่องใหม่ ไม่แปลกถ้าจะมีอุปกรณ์คู่กาย ไม่ใช่เรื่องเกินจำเป็น หากจะมีอุปกรณ์พกพามากกว่า 1 ชิ้น
เพียงแต่เราต้องใช้ประโยชน์จากสิ่งที่เราซื้อให้เต็มที่ และคุ้มค่าคุ้มราคาจริง ๆ
ขอบคุณที่มา : lamunlamai