1. ทำให้ความผิดของพนักงานส่วนน้อย กระทบกับบรรย ากาศการทำงานโดยภาพรวม
เช่นในกรณี แค่เรื่องมาสายของลูกน้องคนเดียว แต่เราโกรธมาก เพราะรู้สึกว่าเขาไม่รับผิดชอบ เห็นแ ก่ตัว
จึงออกคำสั่งกับลูกน้องทุ กคนว่า “การมาสายเป็นสิ่งไม่ถูกต้อง ต่อไปนี้
ทุ กคนต้องมาทำงานให้ตรงเวลาไม่เช่นนั้นจะถูกลงโ ทษอย่ าง รุ น แ ร ง” พร้อมกับส่งอีเมลกำชับให้ทราบ
โดยทั่วกัน การกระทำลักษณะนี้ ของหัวหน้า ถือเป็นการเอาความผิดเล็ก ๆ
ของคน ๆ เดียวมาเหมารวมทุ กคน ทำให้เป็นเรื่องใหญ่เอาความผิดของคน 1 คนมาทำล าย ขวัญ กำลังใจ
และบรรย ากาศในการทำงานจนหมดสิ้น
ซึ่งทำให้เกิดความรู้สึกไม่ดีกับลูกน้องทุ กคนเป็นวงกว้าง เวลาที่เราต้องการจะปลุกใจคน ดึงพลั งของคนขึ้นมา
บรรย ากาศถือเป็นเรื่องสำคัญมาก เราบังคับให้ม้ากินน้ำไม่ได้ แต่เราจูงม้าไปที่แม่น้ำ
และสร้างบรรย ากาศให้ม้าอย ากกินน้ำได้ ด้วยการทำให้เห็นม้าตัวอื่นกินน้ำ กินน้ำแล้วมีความสุข
จนเกิดความอย ากกินตามไปด้วย
เพราะฉะนั้น หน้าที่ของหัวหน้าจึงต้องพึงระวั งคำพูด รวมถึงท่าทางและน้ำเสี ยงของตัวเอง เพื่อรั กษ าบรรย ากาศ
ที่ดีในการทำงานเอาไว้ให้ได้ รักษ าขวัญและกำลังใจของลูกน้องเอาไว้ให้ได้
2. ปิดกั้ น ความคิดเห็นและไอเดียของลูกน้อง
หลายครั้ง หัวหน้าหลาย ๆ คนก็มักชอบพูดทำนองว่า “ไ อ้ที่เสนอมามันก็ดีนะ แต่ว่าก็ลองกันมาหมดแล้ว
มันไม่เวิร์ค อย่ าเสี ยเวลาเลย” ฯลฯ ประโยคแบบนี้เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่หัวหน้าต้องหยุดพูด
เพราะหน้าที่ของหัวหน้าที่ดีคือ ต้องพย าย ามสร้างสรรค์ให้ลูกน้องกล้าพูด กล้านำเสนอ
“Encourage People to bring their brain to work.”ต้องสนับสนุนให้ทุ กคนใช้ส มอง ในการทำงาน
ไม่ใช่หัวหน้าเก็บเอาไว้ คิดคนเดียว ทำทุ กอย่ างคนเดียว เอา Task List เอางานกลับไปทำที่บ้านคนเดียว
จนเหนื่อยท้อ หัวหน้าที่ดีจะต้องสนับสนุนให้ทุ กคนทำงาน เพื่อให้เขาเติบโต
เพราะเขาเองก็สามารถทำได้ดี และอย ากทำให้ดีที่สุดในอาชีพของเขา ด้วยเหมือนกัน
3. กล่าวคำชมเชยแบบไม่เฉพาะเจาะจง
บางครั้งหัวหน้าก็อย ากสวมบทบาท เป็นนางฟ้าที่คอยชื่นชมให้กำลังใจพนักงาน แต่คำชมของเราบางที
ก็กว้างเกินไป ไม่เฉพาะเจาะจง จนบางครั้งลูกน้องรู้สึกว่า “หัวหน้าเสแสร้ง”
เช่น Oh! Nice job everybody, today you did a good job. “วันนี้ทุ กคนทำดีมาก โอ้ ประเสริฐ ยอดเยี่ยม”
คำชมทำนองนี้มีลักษณะกว้างเกินไป ควรปรับให้มีความเฉพาะเจาะจงลงไปเลย
เช่น วันนี้ตอนที่น้องแก้ปัญหา ให้ลูกค้า น้องใช้เทคนิคการแก้ปัญหาที่ตอบโจทย์ลูกค้าได้ตรงประเด็น
น้องใช้น้ำเสี ยงไพเราะ ยิ้มแย้มแจ่มใส พี่ขอบคุณมากนะคะ เป็นต้น
การกล่าวคำชมแบบเฉพาะเจาะจง พฤติกรร ม จะทำให้เกิดการทำซ้ำแล้วซ้ำอีกในวิ ธีการทำงานที่ถูกต้อง
ซึ่งส่งผลดีต่อประสิทธิภาพในการทำงานมากยิ่งขึ้น
4. ตำหนิลูกน้องต่อหน้าเพื่อนร่วมงานคนอื่น
“ทำไมคุณถึงมีปัญหา อยู่คนเดียว คนอื่นเขาไม่เห็นมีปัญหาแบบนี้เลย”, “คุณอย ากได้นู่นได้นี่ แต่ผลงาน
ไม่เห็นเคยมีปรากฎเหมือนคนอื่นเลยนะ สักแต่พูดแต่คุณไม่เคยทำได้เลย” ฯลฯ
ถ้อยคำตำ ห นิ ต่อว่าลูกน้องทำนองนี้ต่อหน้าเพื่อนร่วมงาน และลูกน้องคนอื่น ๆ รวมถึงการเปรียบเทียบว่า
คนหนึ่งดีแต่อีกคนไม่ดี เป็นการทำให้คนเสี ยหน้า เสี ยใจ เสี ยความรู้สึก
ซึ่งเป็นสิ่งที่หัวหน้าไม่ควรทำอย่ างยิ่ง คำแนะนำในการปรับเปลี่ยนคือควรเรียกลูกน้อง เข้ามาพูดคุย
เป็นการส่วนตัว แล้วพูดถึงพฤติกรร ม ที่เฉพาะเจาะจงของเขาไปเลย
ว่าทำอะไรผิ ดพลาด เราอย ากให้เขาปรับปรุงแก้ไข อย่ างไร เช่น คุณมาสาย 2 ครั้งสัปดาห์นี้ 8.30 น.
และ 9.45 น. ในขณะที่ต้องเข้างาน 8.00 น. ตรง ผมขอให้มาทำงานให้ตรงเวลานะ
แล้วเริ่มประชุมตอน 8.15 น. ตามที่เคยต กลงไว้ คุณเป็นคนสำคัญที่จะใส่ ความคิดสร้างสรรค์
ให้กับทีมงาน คุณทำได้ไหม คิดเห็นอย่ างไร
5. พูดจาแนะนำ สอนสั่ง โดยไม่ให้เกียรติ
“โ ชคดีแค่ไหนแล้วที่ยังมีงาน ให้ทำในช่วงวิกฤ ต แบบนี้”, “พี่ขอร้องเถอะนะ ไม่ต้องคิดที่จะทำอะไรเองเลย
พี่เป็นหัวหน้า แค่ทำตามที่พี่สั่งก็พอ เข้าใจไหม โอเค้” ฯลฯ
ลักษณะคำพูดทำนองนี้ ถือเป็นพฤติกรร ม ที่ไม่ควรทำ เพราะลูกน้องของเราก็เป็นผู้ใหญ่
เป็นเพื่อนร่วมงานของเราซึ่งการสอนผู้ใหญ่จะไม่เหมือนกับการสอนลูก
สอนเ ด็ก คนทำงานทุ กคนมีประสบการณ์การทำงานมาก่อนไม่มากก็น้อย พวกเขาต้องการแรงจูงใจ
ต้องการประโยชน์ ที่จะได้รับจากการทำตามที่เราแนะนำ What’s in it for me?
ลูกน้องทุ กคนต้องการความเคารพ การให้เกียรติเช่นเดียวกันกับเรา ซึ่งไม่ใช่ไปยกมือไหว้ หรือยกยอปอปั้นเขา
แต่เป็นการให้เกียรติในมุมมองการทำงานของเขา และประสบการณ์การทำงานของเขา
ขอบคุณที่มา : sabailey